Page 206 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหวาย-คลองโพล้ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์(รหัส 1805) ลุ่มน้ำหลักชายฝั่งทะเลตะวันออก(รหัส 18) พื้นที่ดำเนินการโครงการ บ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6 บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ตำบลกระแสบน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
P. 206

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                    159





                   ที่เกิดจากความร่วมมือของชุมชนที่เข้มแข็ง สร้างรายได้ที่มั่นคงและยั่งยืน ตัวอย่างผลิตภัณฑ์สมุนไพร เช่น

                   ยาอม ยาดม ลูกประคบ ยาแก้ไอ ชาสมุนไพร น้ ามันหอมระเหย ธูป สบู่ แชมพู ผลิตภัณฑ์บ ารุงผิว และอื่นๆ
                   อีกมากมาย


                                 7.3.11 ข้อเสนอแนะในการใช้ประโยชน์ที่ดิน
                                    1) สภาพพื้นที่ด าเนินการทั้งหมดพบเป็นดินบนพื้นที่ดอน พบปัญหาดินในเรื่องดินตื้น
                   ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ดินบนพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน และการใช้ที่ดินบางบริเวณไม่เหมาะสมกับศักยภาพ

                   ของดิน
                                    ส าหรับการส่งเสริมในล าดับแรกควรให้เลือกชนิดพืชที่เพาะปลูกให้เหมาะสมกับสภาพ
                   พื้นที่และดิน หากมีความประสงค์ต้องการเพาะปลูกพืชชนิดนั้นจริงๆ ก็ต้องมีการปรับสภาพพื้นที่ให้

                   เหมาะสม
                                    ในล าดับต่อมาเป็นการแก้ปัญหาดินตามปัญหาดินนั้นๆ ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว ทั้งใน
                   พื้นที่ลุ่มน้ าและพื้นที่ด าเนินการ โดยปัญหาความอุดมสมบูรณ์ต่ าซึ่งเป็นปัญหาส่วนใหญ่ของพื้นที่ และมี
                   การจัดการง่ายกว่าปัญหาอื่น โดยเหมาะเป็นทางเลือกอันดับแรกในการส่งเสริมเพื่อลดต้นทุนและเพิ่ม
                   ผลผลิต ซึ่งหากมีการใช้หลักพัฒนาที่ดินที่เหมาะสมจะสามารถใช้เป็นจุดเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยี

                   ด้านการพัฒนาที่ดินได้ค่อนข้างกว้างขวาง
                                    2) การปรับปรุงบ ารุงดินเพื่อเพิ่มผลผลิตโดยเฉพาะพืชหลัก ควรเน้นในเรื่องการใช้ปุ๋ย
                   อินทรีย์ เช่น ปุ๋ยหมัก น้ าหมักชีวภาพ โดยลดปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมีลงและจัดท าเป็นแปลงสาธิตการใช้ปุ๋ย

                   อินทรีย์ เพื่อให้เกษตรกรได้เห็นเป็นตัวอย่างและน าไปปฏิบัติในพื้นที่ของตนเอง
                                    3) การก าหนดรูปแบบอนุรักษ์ดินและน้ าควรให้สอดคล้องกับลักษณะดินและสภาพ
                   พื้นที่ การใช้ประโยชน์ที่ดินควรเน้นรูปแบบอนุรักษ์ดินและน้ าโดยวิธีพืช เนื่องจากท าได้ง่าย ลงทุนน้อย
                   และเป็นที่ยอมรับของเกษตรกร

                                    4) การติดตามประเมินผล หลังจากก าหนดพื้นที่ด าเนินการในเขตพัฒนาที่ดินนี้แล้ว
                   ควรมีการติดตามผลการด าเนินงานในด้านโครงสร้างการอนุรักษ์ดินและน้ า วิธีการท าเกษตรกรรม การ
                   ปรับปรุงบ ารุงดินในพื้นที่ด าเนินการ เพื่อให้ทราบถึงปัญหาอุปสรรคและสามารถก าหนดแนวทางแก้ไขได้
                   อย่างถูกต้องต่อไป

                                    5) การขยายผล การพัฒนาที่ดินในบริเวณพื้นที่ด าเนินการ ซึ่งเป็นพื้นที่ตัวแทนสภาพ
                   ปัญหาของเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ าคลองหวาย-คลองโพล้ ที่มีการจ ากัดบริเวณไว้เพียงส่วนหนึ่ง เพื่อให้การ
                   พัฒนาที่ดินเพื่อการเกษตรมีประสิทธิภาพ เป็นรูปธรรม และเกิดความยั่งยืน ควรมีการขยายผลโดยก าหนด
                   พื้นที่ด าเนินการเพิ่มเติมภายในบริเวณลุ่มน้ าคลองหวาย-คลองโพล้ เพื่อให้งานพัฒนาที่ดินครอบคลุมทุก

                   สภาพปัญหาในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน

                                 7.3.12 สรุปผลการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลด้านกายภาพและสภาพปัญหาของพื นที่

                   ด าเนินการเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน  าคลองหวาย-คลองโพล้ จังหวัดระยอง
                                    พื้นที่ด าเนินการตั้งอยู่ในเขตบ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6 บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ต าบลกระแสบน
                   อ าเภอแกลง จังหวัดระยอง มีเนื้อที่ 5,400 ไร่ สภาพภูมิประเทศมีลักษณะเป็นพื้นที่ราบเรียบถึงพื้นที่ลาดชัน

                   เชิงซ้อน พื้นที่อยู่สูงจากระดับทะเลปานกลางประมาณ 14 ถึง 80 เมตร พื้นที่ส่วนใหญ่มีลักษณะราบเรียบ
                   ถึงค่อนข้างราบเรียบ ความลาดชันของพื้นที่ 0-2 เปอร์เซ็นต์
   201   202   203   204   205   206   207   208   209   210   211