Page 208 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหวาย-คลองโพล้ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์(รหัส 1805) ลุ่มน้ำหลักชายฝั่งทะเลตะวันออก(รหัส 18) พื้นที่ดำเนินการโครงการ บ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6 บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ตำบลกระแสบน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
P. 208

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                    161





                   เพื่อให้มีความหลากหลายของผลผลิตและรายได้ ลดความเสี่ยงและพยุงราคากรณีผลผลิตประเภทใด

                   ประเภทหนึ่งราคาตกเนื่องจากสินค้าล้นตลาด
                                     3. พื้นที่ศักยภาพผลิตพืชไร่ มีเนื้อที่ 2,099 ไร่ หรือร้อยละ 38.87 ของพื้นที่ด าเนินการ

                   ได้แก่ หน่วยแผนที่ Cp-slB/d 2g,E 1 Kc-clB/d 2g,E 1 Kc-clC/d 2g,E 2 Klt-clB/d 2c,E 2  Klt-clC/d 2c,E 2
                   Ntn-clB/d3,E1 Ntn-clC/d3c,E2 Pto-slC/d 3c,E 1 และ Pto-slD/d3c,E2 เป็นพื้นที่ดินตื้นถึงลึกปานกลาง

                   พื้นที่มีความเหมาะสมดีถึงดีปานกลางในการปลูกพืชไร่ ควรปลูกพืชไร่หรือพืชรากไม่ลึก เพื่อไม่ให้มีข้อจ ากัด
                   เรื่องเป็นดินตื้น หากท าการปรับเปลี่ยนการปลูกพืชไร่แล้ว ในพื้นที่มีความลาดชัน 5-20 เปอร์เซ็นต์ จะยังคง
                   มีข้อจ ากัดเรื่องเป็นพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดถึงลูกคลื่นลอนชันและมีการกร่อนดินปานกลาง แต่ก็เป็นข้อจ ากัด
                   ที่หากมีการอนุรักษ์ดินและน้ าเหมาะสมสามารถป้องกันข้อจ ากัดเรื่องการชะล้างของพื้นที่ได้ ซึ่งเป็นการจัดการ

                   ที่ง่ายกว่าในเรื่องการจัดการดินตื้น พื้นที่มีศักยภาพในการผลิตพืชไร่ โดยก าหนดพื้นที่เพาะปลูกให้สับปะรด
                   และมันส าปะหลังเป็นหลัก อาจสลับเพาะปลูกในบางปีที่ทิศทางตลาดพืชใดพืชหนึ่งไม่ดี รองมาเป็นข้าวโพดหวาน
                   ทั้งนี้ไม่ควรปลูกพืชเพียงชนิดเดียวเพื่อให้มีความหลากหลายของผลผลิตและรายได้
                                     4. พื้นที่ศักยภาพการผลิตป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง มีเนื้อที่ 293 ไร่ หรือร้อยละ

                   5.45 ของพื้นที่ด าเนินการ ได้แก่ หน่วยแผนที่ Ho-sglE/d2c,E3  Klt-clD/d2c,E2 สภาพพื้นที่มีความลาดชัน
                   มากกว่า 12 เปอร์เซ็นต์ มีการกร่อนปานกลางถึงรุนแรง เป็นดินตื้น ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า พื้นที่มีศักยภาพ
                   ในการผลิตพืชต่ า พื้นที่ไม่ค่อยเหมาะสมส าหรับปลูกพืชเศรษฐกิจทั่วไป พื้นที่ปลูกป่า 3 อย่าง ได้แก่ ไม้ใช้สอย

                   ไม้กินได้ และไม้เศรษฐกิจ ซึ่งมีการดูแลรักษาไม่ยาก ได้ใช้ประโยชน์ไม้ตามชนิดที่ปลูกแล้ว ยังได้ประโยชน์
                   ที่ 4 ในเรื่องท าเป็นการอนุรักษ์ดินและน ้าอีกด้วย
                                     5. พื้นที่คงไว้เป็นเขตป่านอกเขตป่าตามกฎหมาย มีเนื้อที่ 18 ไร่ หรือร้อยละ 0.33
                   ของพื้นที่ด าเนินการ เป็นพื้นที่ป่าผลัดใบสมบูรณ์ที่อยู่นอกพื้นที่ป่าตามกฎหมายและนอกพื้นที่ลาดชัน
                   เชิงซ้อน พื้นที่ควรคงสภาพป่าไว้ตามธรรมชาติ

                                     6. พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน มีเนื้อที่ 23 ไร่ หรือร้อยละ 0.42 ของพื้นที่ด าเนินการ
                   เป็นพื้นที่มีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ ไม่เหมาะน ามาใช้ในการเกษตร
                                     7. พื้นที่อื่นๆ มีเนื้อที่ 312 ไร่ หรือร้อยละ 5.77 ของพื้นที่ด าเนินการ เป็นส่วนของ

                   ที่อยู่อาศัยและแหล่งน้ า

                                   พื้นที่มีศักยภาพผลิตพืชดังกล่าวไปแล้วนั้น เป็นหนึ่งในพืชทางเลือก หรือแนวทางใน

                   การปรับเปลี่ยนจ านวนพื้นที่การปลูกพืชปัจจุบัน โดยพื้นที่ศักยภาพผลิตพืชผัก พืชไร่ และป่า 3 อย่าง ประโยชน์
                   4 อย่างนั้น สามารถเพิ่มอีกกลุ่มพืชทางเลือกที่เหมาะสม คือ พืชสมุนไพร เนื่องจากพื้นที่มีข้อได้เปรียบใน
                   การมีแหล่งพันธุ์ แหล่งความรู้ ทั้งในเรื่องสมุนไพร การแปรรูปผลิตภัณฑ์ การรับรองคุณภาพวัตถุดิบและ
                   ผลิตภัณฑ์ และการมีตลาดรองรับ
   203   204   205   206   207   208   209   210   211   212   213