Page 202 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหวาย-คลองโพล้ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์(รหัส 1805) ลุ่มน้ำหลักชายฝั่งทะเลตะวันออก(รหัส 18) พื้นที่ดำเนินการโครงการ บ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6 บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ตำบลกระแสบน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
P. 202

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                    155





                                         6) เนื่องจากดินมีความเหมาะสมดีในการปลูกพืชไร่ ไม้ยืนต้น ไม้ผลหลายชนิด

                   หากในอนาคตเกษตรกรมีพืชทางเลือกที่ให้ผลตอบแทนที่ดีและมีการบริหารจัดการที่ดีก็สามารถ
                   ปรับเปลี่ยนพืชได้ตามความเหมาะสม


                                     แนวทางการพัฒนายางพารา ปาล์มน้ ามัน
                                          1) ควรใช้แนวทางของเกษตรอินทรีย์ ลดการใช้สารเคมี เพื่อลดต้นทุนการผลิต
                   และเพิ่มมูลค่าของผลผลิต
                                         2) ท าการเกษตรกรรมควบคู่กับการอนุรักษ์ดินและน้ า เช่น ปลูกพืชตามแนว

                   ระดับ ปลูกหญ้าแฝกเป็นแถบขวางความลาดเท เพื่อลดปัญหาการชะล้างและเป็นการเก็บความชื้นให้ดิน
                   เป็นต้น
                                         3) ส าหรับยางพาราที่ยังไม่เปิดหน้ายางควรเปิดหน้ายางเมื่ออายุเหมาะสม ไม่
                   เร่งการเปิดหน้ายาง เน้นการผลิตน้ ายางคุณภาพตามแผนยุทธศาสตร์ยางพารา ระยะ 20 ปี

                                         4) พัฒนาแหล่งน้ าเพิ่มเติมและท าระบบการน าน้ าจากคลองชลประทานมาใช้
                   ในพื้นที่เพาะปลูก รวมทั้งปรับปรุงแหล่งน้ าธรรมชาติให้สามารถกักเก็บน้ าได้ดีขึ้น ส าหรับปาล์มน้ ามันควร
                   ท าระบบการให้น้ าในแปลงเพาะปลูก และควรมีการเหวี่ยงน้ าระหว่างต้นเพื่อเพิ่มความชื้นในอากาศในฤดู
                   แล้ง โดยเฉพาะช่วงออกดอกและติดผล


                                    3) พื นที่มีศักยภาพผลิตพืชไร่
                                       สับปะรด เป็นพืชที่มีความต้องการของตลาดอย่างต่อเนื่อง มีแหล่งรองรับผลผลิต

                   ของเกษตรกรปีละ 1.80-2.00 ล้านตันจากผลผลิตทั้งหมด ซึ่งเป็นภาคอุตสาหกรรมเพื่อการแปรรูป ผลผลิต
                   ที่เหลือประมาณร้อยละ 20 ใช้ในรูปสับปะรดบริโภคสดภายในประเทศและส่งออก ตลาดการรับซื้อใกล้พื้นที่
                   ด าการอยู่ที่อ าเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง ในปี 2558 ประเทศอินโดนีเซียได้ปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกสับปะรด

                   ไปปลูกยางพาราและปาล์มน้ ามันแทนท าให้ปริมาณสับปะรดในตลาดกลางลดลง ประกอบกับการขยายตัว
                   ทางด้านการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมดังที่ได้กล่าวมาแล้ว ท าให้โอกาสในการขายเพื่อบริโภคผลสดของ
                   นักท่องเที่ยว ผู้ประกอบการที่พัก โรงแรม และประชากรที่มาจากภาคอุตสาหกรรม เพิ่มจ านวนขึ้น
                                       มันส าปะหลัง เป็นอีกพืชพลังงานส าคัญใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตเอธทานอลและ
                   วัตถุดิบส าคัญในการผลิตอาหารสัตว์ ปัจจุบันราคาส่งออกผลิตภัณฑ์มันส าปะหลังถือว่าอยู่ในเกณฑ์ที่

                   เหมาะสมกับความต้องการของตลาดโลก สถานการณ์ปัจจุบันมีความต้องการมากกว่าปริมาณผลผลิตที่มี
                   ในตลาด ท าให้ราคามันส าปะหลังเพิ่มสูงขึ้นทั้งระบบ กระทรวงพาณิชย์โดยกรมการค้าต่างประเทศ ได้ร่วมกับ
                   สมาคมมันส าปะหลังที่เกี่ยวข้องจัดกิจกรรมขยายตลาดสินค้ามันส าปะหลังอย่างต่อเนื่อง อาทิ การเจรจาขาย

                   สินค้ากับประเทศตุรกีและเกาหลีใต้ ค าสั่งซื้อคาดว่าจะเกิดขึ้นภายใน 1 ปี และยังคงมีการผลักดันส่งออกไป
                   ตลาดเดิมอย่างต่อเนื่อง แนวโน้มการส่งออกยังคงสดใสโดยเฉพาะในตลาดจีน เนื่องจากรัฐบาลจีนมีนโยบาย
                   เพิ่มการใช้เอทานอลในน้ ามันเชื้อเพลิง (E10) ภายในปี 2563 ซึ่งจะส่งผลให้มีความต้องการใช้ เอทานอล
                   เพิ่มขึ้นมากกว่า 10 ล้านตัน กรมการค้าต่างประเทศได้ดูแลการน าเข้าและป้องกันการน าเข้ามันส าปะหลัง

                   ด้อยคุณภาพเพื่อไม่ให้กระทบราคาภายในประเทศ และให้ความส าคัญกับการบริหารจัดการการเก็บเกี่ยว
                   ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ลานรับซื้อมันส าปะหลังใกล้พื้นที่ด าเนินการมีหลายจุดในจังหวัด
                   ระยอง ส่วนใหญ่อยู่อ าเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง
   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207