Page 207 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหวาย-คลองโพล้ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์(รหัส 1805) ลุ่มน้ำหลักชายฝั่งทะเลตะวันออก(รหัส 18) พื้นที่ดำเนินการโครงการ บ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6 บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ตำบลกระแสบน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
P. 207

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                    160





                                    แหล่งน้ าธรรมชาติที่ส าคัญ คือ แม่น้ าประแสร์ คลองไผ่เหนือ ล าน้ าสาขาของคลองหวาย

                   พื้นที่ด าเนินการมีคลองส่งน้ าชลประทานโดยส่งน้ าจากอ่างเก็บน้ าประแสร์ เป็นแหล่งน้ าทางการเกษตรที่
                   ส าคัญในช่วงฤดูแล้ง มีน้ าตลอดปีโดยระดับน้ าขึ้นอยู่กับการควบคุมจากชลประทานในแต่ละปี นอกจากนี้
                   ยังพบบ่อน้ าในไร่นากระจายอยู่ทั่วไปในพื้นที่
                                    สภาพการใช้ที่ดิน พื้นที่ส่วนใหญ่ใช้ในการท าเกษตรกรรม มีเนื้อที่ 5,040 ไร่ หรือร้อยละ

                   93.35 ของพื้นที่ด าเนินการ พื้นที่เกษตรกรรมส่วนใหญ่เกษตรกรใช้ปลูกยางพารา มีเนื้อที่ 4,592 ไร่ หรือ
                   ร้อยละ 85.04 ของพื้นที่ด าเนินการ รองมาเป็นการปลูกไม้ผล มีเนื้อที่ 340 ไร่ หรือร้อยละ 6.31 ของพื้นที่
                   ด าเนินการ พื้นที่การปลูกยางพารามีจ านวนมากกว่าพื้นที่ปลูกไม้ผล เนื่องมาจากราคายางพาราที่สูงในอดีต
                   ท าให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนมาปลูกยางพาราจ านวนมาก

                                    ทรัพยากรดินที่พบทั้งหมดเป็นดินในพื้นที่ดอน จ าแนกได้ 19 หน่วยแผ่นที่ จ าแนกเป็น
                   7 ชุดดิน 12 หน่วยแผนที่ ได้แก่ หน่วยแผ่นที่ดิน Cp-slB/d 2g,E 1 Ho-sglE/d 2c,E 3 Kc-clB/d 2g,E 1 Kc-clC/d 2g,E 2

                   Klt-clB/d 2c,E 1   Klt-clC/d 2c,E 2 Klt-clD/d 2c,E 2 Km-slB/d 5,E 1 Ntn-clB/d 3c,E 1 Ntn-clC/d 3c,E 2 Pto-slC/d 3c,E 1
                   และ Pto-slD/d3c,E 2  จ าแนกเป็น 3 ดินคล้าย 4 หน่วยแผนที่ ได้แก่ หน่วยแผนที่ Kh-gm-slA/d5,E 1

                   Ro-fl-slA/d5,E1  Ro-gm-clA/d5,E0 และ Te-gm-slA/d5,E1 หน่วยไม่จ าแนก มี 1 หน่วยแผนที่ ได้แก่ SC
                   พื้นที่เบ็ดเตล็ด 2 หน่วยแผนที่ ได้แก่ U และ W
                                    ปัญหาทรัพยากรดินพบเป็นดินตื้น มีเนื้อที่ 1,854 ไร่ หรือร้อยละ 34.35 ของพื้นที่ด าเนินการ

                   ซึ่งเป็นดินตื้นถึงชั้นกรวดลูกรังและดินตื้นถึงชั้นหินพื้น ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า มีเนื้อที่ 3,211 ไร่ หรือ
                   ร้อยละ 59.46 ของพื้นที่ด าเนินการ และดินบนพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน มีเนื้อที่ 23 ไร่ หรือร้อยละ 0.42 ของพื้นที่
                   ด าเนินการ
                                    จากผลการศึกษาข้อมูลพื้นที่ด าเนินการร่วมกับพิจารณาข้อมูลตลาด ทิศทางเศรษฐกิจ
                   และสังคม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) ร่างแผนยุทธศาสตร์

                   เกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) แผนพัฒนาจังหวัดระยอง ปี พ.ศ. 2557-2560 ร่วมกับ
                   ความต้องการของเกษตรกร ได้จัดศักยภาพทรัพยากรดินเพื่อการเกษตรได้ 5 พื้นที่ ได้แก่
                                     1. พื้นที่มีศักยภาพส าหรับการผลิตพืชผัก มีเนื้อที่ 216 ไร่ หรือร้อยละ 4.00 ของ

                   พื้นที่ด าเนินการ ได้แก่ หน่วยแผนที่ Ro-gm-clA/d 5,E 0 พื้นที่มีความเหมาะสมดีในการปลูกพืชผัก ข้อจ ากัด
                   เล็กน้อยเรื่องความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ า พื้นที่อยู่ข้างแม่น้ าประแสร์ ซึ่งเป็นแหล่งน้ าที่สามารถกักเก็บน้ าไว้
                   ใช้ในฤดูแล้งเพื่อให้มีน้ าใช้ตลอดปี ดินมีศักยภาพในการปลูกพืชได้หลายชนิด มีข้อได้เปรียบในการเป็นพื้นที่
                   ใกล้แหล่งท่องเที่ยวและชุมชนมีความต้องการด้านอาหาร การคมนาคมสายหลักสะดวก มีแหล่งน้ าที่

                   สามารถส ารองน้ าไว้ใช้ตลอดปี และเป็นพื้นที่เปิดตลาดส าหรับการผลิตพืชผักในบริเวณนี้ การปลูกพืชผัก
                   ต่างชนิดและมีช่วงเวลาต่างกันในการให้ผลผลิต ท าให้เกษตรกรมีรายได็ จากการขายผลผลิตต่อเนื่องตลอดปี
                                     2. พื้นที่ศักยภาพผลิตไม้ผล ไม้ยืนต้น มีเนื้อที่ 2,445 ไร่ หรือร้อยละ 45.27 ของพื้นที่

                   ด าเนินการ ได้แก่ หน่วยแผนที่ Km-slB/d5,E1 Kh-gm-slA/d5,E1 Ro-fl-slA/d5,E1 และ Te-gm-slA/d5,E1
                   พื้นที่มีความเหมาะสมดีส าหรับปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น มีข้อจ ากัดเล็กน้อยเรื่องความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ าและ
                   เนื้อดินเป็นดินร่วนปนทรายในบางพื้นที่ ดินมีศักยภาพในการปลูกพืชได้หลายชนิด มีความได้เปรียบใน
                   การเป็นพื้นที่เป้าหมายระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก การขยายตัวทางด้านการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรม
                   ซึ่งท าให้ความต้องการบริโภคอาหารและต้องการวัตถุดิบเพื่อเป็นปัจจัยการผลิตเพิ่มมากขึ้น จึงได้ก าหนด

                   เป้าหมายในการปลูกไม้ผลเป็นหลัก รองมาเป็นยางพาราและปาล์มน้ ามัน ไม่ควรปลูกพืชเชิงเดี่ยว
   202   203   204   205   206   207   208   209   210   211   212