Page 201 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหวาย-คลองโพล้ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์(รหัส 1805) ลุ่มน้ำหลักชายฝั่งทะเลตะวันออก(รหัส 18) พื้นที่ดำเนินการโครงการ บ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6 บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ตำบลกระแสบน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
P. 201

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                    154





                   ปริมาณฝน 1,800-2,400 มิลลิเมตร/ปี มีปริมาณแสงแดดไม่ต่ ากว่า 5 ชั่วโมง ต่อวันโดยเฉลี่ย อุณหภูมิโดย

                   เฉลี่ย 28-32 องศาเซลเซียส และไม่ควรมีฤดูแล้งติดต่อกันเกิน 90 วัน ซึ่งพื้นที่ด าเนินการมีข้อจ ากัดเรื่อง
                   ปริมาณน้ าฝนเฉลี่ยที่ 1,300 มิลลิเมตร/ปี แต่เนื่องจากพื้นที่อยู่ใกล้แหล่งน้ าธรรมชาติและคลองส่งน้ าชลประทาน
                   สามารถวางระบบการให้น้ าได้ พื้นที่ใกล้แหล่งรับซื้อที่อ าเภอวังจันทร์ จังหวัดระยออง ระยะเวลาและการ
                   คมนาคมสะดวกในการขนส่งผลผลิตเข้าโรงงาน

                                       สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ เป็นดินลึกมาก ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า
                   พื้นที่มีความเหมาะสมดีส าหรับปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น มีข้อจ ากัดเล็กน้อยเรื่องความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ า
                   และเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทรายในบางพื้นที่ ได้แก่ หน่วยแผนที่ Km-slB/d 5,E 1 Kh-gm-slA/d 5,E 1 Ro-fl-slA/d 5,E 1
                   และ Te-gm-slA/d5,E1 มีเนื้อที่ 2,445 ไร่ หรือร้อยละ 45.27 ของพื้นที่ สภาพการใช้ที่ดินปัจจุบันส่วนใหญ่

                   เป็นยางพาราและไม้ผลผสม รองมาเป็นปาล์มน้ ามัน มันส าปะหลัง และพื้นที่รกร้าง ตามล าดับ มีศักยภาพ
                   ในการปลูกพืชได้หลายชนิด จากการพิจารณาถึงความต้องการทางตลาด ราคา นโยบายรัฐบาล ความได้เปรียบ
                   ในการเป็นพื้นที่เป้าหมายระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก การขยายตัวทางด้านการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรม
                   ซึ่งท าให้ความต้องการบริโภคอาหารและต้องการวัตถุดิบเพื่อเป็นปัจจัยการผลิตเพิ่มมากขึ้น จึงก าหนดให้

                   พื้นที่นี้มีศักยภาพผลิตไม้ผล ไม้ยืนต้น
                                     การก าหนดเป็นพื้นที่มีศักยภาพผลิตไม้ผล ไม้ยืนต้นนั้น เสนอเป็นทางเลือกส าหรับ
                   การปรับเปลี่ยน เพิ่มหรือลดพื้นที่จากการปลูกพืชในปัจจุบัน และเข้าใช้ประโยชน์ในพื้นที่รกร้าง จากการ

                   พิจารณาดังกล่าวมาแล้ว ควรก าหนดเป้าหมายในการปลูกไม้ผลเป็นหลัก  รองมาเป็นยางพาราและปาล์ม
                   น้ ามัน ไม่ควรปลูกพืชใดพืชหนึ่งเพียงชนิดเดียวเพื่อให้มีความหลากหลายของผลผลิตและรายได้ ลดความ
                   เสี่ยงและพยุงราคากรณีผลผลิตประเภทใดประเภทหนึ่งราคาตกเนื่องจากสินค้าล้นตลาด
                                     แนวทางการพัฒนาไม้ผล
                                          1) ควรใช้แนวทางของเกษตรอินทรีย์ ส่งเสริมการผลิตพืชปลอดสารพิษ ลดการ

                   ใช้สารเคมี เพื่อลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มมูลค่าของผลผลิต
                                         2) เพิ่มศักยภาพการผลิต โดยการลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มคุณภาพของ
                   ผลผลิต ควบคุมกระบวนการผลิตไม้ผลให้ถูกต้องตามระบบการปฏิบัติการทางการเกษตรที่ดี (GAP)  เพื่อ

                   สร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศ เช่น ThaiGAP และ Q-GAP
                                         3) ปรับปรุงบ ารุงดิน โดยการใช้ปุ๋ยคอก ปุ๋ยอินทรีย์ น้ าหมักชีวภาพ ควบคู่กับ
                   การใช้ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินที่ต่างกันไปในไม้ผลแต่ละชนิด ร่วมกับการจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ า
                   เพื่อรักษาความชุมชื้นของดิน เช่น การปลูกหญ้าแฝกรอบโคนต้น แก้ปัญหาเรื่องความอุดมสมบูรณ์ต่ าและดิน

                   บนเป็นดินร่วนปนทรายเพื่อพัฒนาเป็นพื้นที่มีศักยภาพสูงส าหรับผลิตไม้ผลต่อไป
                                         4) ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร เปิดให้เข้าชมและ
                   รับประทานผลไม้จากในสวน รวมกลุ่มพัฒนาคุณภาพและรูปแบบการแปรรูปผลไม้ที่ล้นตลาดเพื่อเพิ่ม
                   มูลค่าผลผลิต เช่น การท าน้ าผลไม้บรรจุขวด ไอติม/โยเกิร์ตผลไม้ตามฤดูกาล การท าไวน์ การท าผลไม้

                   อบแห้ง การหยี เป็นต้น
                                         5) พัฒนาแหล่งน้ าเพิ่มเติมและท าระบบการน าน้ าจากคลองชลประทานมา
                   ใช้ในพื้นที่เพาะปลูก รวมทั้งปรับปรุงแหล่งน้ าธรรมชาติให้สามารถกักเก็บน้ าได้ดีขึ้น
   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206