Page 211 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหวาย-คลองโพล้ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์(รหัส 1805) ลุ่มน้ำหลักชายฝั่งทะเลตะวันออก(รหัส 18) พื้นที่ดำเนินการโครงการ บ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6 บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ตำบลกระแสบน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
P. 211

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                    164





                                 สภาพการใช้ที่ดิน ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เกษตรกรรม มีเนื้อที่ 5,040 ไร่ หรือร้อยละ 93.35

                   ของพื้นที่ด าเนินการ ซึ่งพบการปลูกไม้ยืนต้นเป็นส่วนใหญ่ รองมาพบเป็น พื้นที่น้ า มีเนื้อที่ 191 ไร่ หรือ
                   ร้อยละ 3.53 ของพื้นที่ด าเนินการ พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง มีเนื้อที่ 121 ไร่ หรือร้อยละ 2.24 ของ
                   พื้นที่ด าเนินการ พื้นที่เบ็ดเตล็ด มีเนื้อที่ 30 ไร่ หรือร้อยละ 0.55 ของพื้นที่ด าเนินการ และพื้นที่ป่าไม้ มี
                   เนื้อที่ 18 ไร่ หรือร้อยละ 0.33 ของพื้นที่ด าเนินการ ตามล าดับ

                                 ทรัพยากรดิน จ าแนกได้ 19 หน่วยแผ่นที่ดิน เป็น 7 ชุดดิน 3 ดินคล้าย 1 หน่วยไม่จ าแนก และ
                   2 หน่วยพื้นที่เบ็ดเตล็ด ได้แก่ ชุดดินชุมพร (Cp-slB/d 2g,E 1)    ชุดดินห้วยยอด (Ho-sglE/d 2c,E 3) ชุดดินคลอกชาก
                   (Kc-clB/d2g,E1 และ Kc-clC/d2g,E2) ชุดดินคลองเต็ง (Klt-clB/d2c,E1  Klt-clC/d2c,E2 และ Klt-clD/d2c,E2)
                   ชุดดินคลองท่อม (Km-slB/d5,E1) ชุดดินนาทอน  (Ntn-clB/d3c,E1 และ Ntn-clC/d3c,E2) ชุดดินพะโต๊ะ

                   (Pto-slC/d3c,E1 และ Pto-slD/d3c,E2) ดินคอหงส์ที่มีจุดประสีเทา (Kh-gm-slA/d5,E1) ดินรือเสาะที่เป็น
                   ดินร่วนละเอียด (Ro-fl-slA/d 5,E1) ดินรือเสาะที่มีจุดประสีเทา (Ro-gm-clA/d5,E0) ดินท่าแซะที่มีจุดประสีเทา
                   (Te-gm-slA/d5,E1) พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน (SC) ที่อยู่อาศัย (U) และแหล่งน้ า (W)
                                 ปัญหาทรัพยากรดินที่พบ ได้แก่ ดินตื้น มีเนื้อที่ 1,854 ไร่ หรือร้อยละ 34.35 ของพื้นที่

                   ด าเนินการ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า มีเนื้อที่ 3,211 ไร่ หรือร้อยละ 59.46 ของพื้นที่ด าเนินการ และดินบน
                   พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน มีเนื้อที่ 23 ไร่ หรือร้อยละ 0.42 ของพื้นที่ด าเนินการ
                                 จากการศึกษาลักษณะและสมบัติดิน การจ าแนกดิน สภาพการใช้ที่ดิน การประเมินความ

                   เหมาะสมของดินส าหรับปลูกพืชเศรษฐกิจ เป็นข้อมูลการจัดศักยภาพทรัพยากรดินเพื่อการเกษตร
                   หลังจากกันพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนไว้เป็นพื้นที่ป่าเพื่อการอนุรักษ์ และให้พื้นที่ป่าผลัดใบสมบูรณ์เป็นพื้นที่ป่า
                   นอกเขตป่าตามกฎหมาย สามารถก าหนดเป็นพื้นที่มีศักยภาพผลิตพืชผัก มีเนื้อที่ 216 ไร่ หรือร้อยละ 4.00
                   ของพื้นที่ด าเนินการ พื้นที่มีศักยภาพผลิตไม้ผล ไม้ยืนต้น มีเนื้อที่ 2,445 ไร่ หรือร้อยละ 45.27 ของพื้นที่
                   ด าเนินการ พื้นที่มีศักยภาพผลิตพืชไร่ มีเนื้อที่ 2,099 ไร่ หรือร้อยละ 38.87 ของพื้นที่ด าเนินการ และ

                   พื้นที่มีศักยภาพ ส าหรับการปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง มีเนื้อที่ 293 ไร่ หรือร้อยละ 5.45 ของ
                   พื้นที่ด าเนินการ


                   9. วิจารณ์ผลและข้อเสนอแนะ
                           จากการส ารวจดินพื้นที่ด าเนินการ บ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6 บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ต าบลกระแสบน

                   อ าเภอแกลง จังหวัดระยอง มาตราส่วน 1:4,000 ตามมาตรฐานการส ารวจจ าแนกดิน และการใช้ระบบสารสนเทศ
                   ภูมิศาสตร์เป็นเครื่องมือช่วยในการจัดเก็บและวิเคราห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ จัดท าแผนที่ต่างๆ ตลอดจนจัดท าเป็น
                   รายงานการส ารวดิน ที่มีข้อมูลเชิงพื้นที่ อาทิเช่น แผนที่ดิน แผนที่สภาพการใช้ที่ดิน แผนที่ชั้นความเหมาะสม
                   ของดิน แผนที่ศักภาพดิน ซึ่งสามารถใช้เป็นข้อมูลส าหรับแนะน าส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับเจ้าหน้าที่สถานี

                   พัฒนาที่ดินและเกษตรกรในพื้นที่ เพื่อวางแผนการใช้ที่ดินภายใต้ภารกิจของกรมพัฒนาที่ดิน ตลอดจน
                   ท างานบูรณาการร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ และเกษตรกรในพื้นที่ เพื่อให้เกิดการพัฒนาด้านการเกษตรที่มี
                   ประสิทธิภาพสูงสุดและมีความยั่งยืน เป็นแนวทางความส าเร็จและเกิดการขยายผลสู้พื้นที่อื่นๆ ต่อไป

                            ปัญหาทรัพยากรดินในพื้นที่ด าเนินการ ยังครอบคลุมปัญหาของลุ่มน้ าสาขาได้ไม่สมบูรณ์ จาก
                   การศึกษาพบว่ายังขาดตัวแทนทรัพยากรดินปัญหาบางประการ ได้แก่ ดินทราย ดินมีชั้นดานอินทรีย์ ดิน
                   เปรี้ยว และดินเลนเค็ม ซึ่งอาจต้องคัดเลือกพื้นที่ที่พบปัญหาดังกล่าว เพื่อท าการศึกษาเพิ่มเติมเป็นอีกพื้นที่
                   ด าเนินการต่อไป
   206   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216