Page 24 - การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังข้าวร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตในพื้นที่ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ตำบลโนนกลาง อำเภอสำโรง จังหวัดอุบลราชธานี
P. 24

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          15


                         สภาพทั่วไปของอ าเภอส าโรง
                         อ าเภอส าโรง แบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 9 ต าบล 111 หมู่บ้าน  ได้แก่  ต าบลส าโรง 15
                  หมู่บ้าน  ต าบลโคกก่อง 17 หมู่บ้าน  ต าบลหนองไฮ 12 หมู่บ้าน  ต าบลค้อน้อย  17 หมู่บ้าน  ต าบลโนนกา

                  เล็น 12 หมู่บ้าน  ต าบลโคกสว่าง 12 หมู่บ้าน  ต าบลโนนกลาง 10 หมู่บ้าน  ต าบลบอน 7 หมู่บ้าน  ต าบลขาม
                  ป้อม 9 หมู่บ้าน  มีอาณาเขตติดต่อกับอ าเภอข้างเคียง ดังนี้
                         ทิศเหนือ       ติดต่อกับอ าเภอวารินช าราบ
                         ทิศตะวันออก   ติดต่อกับอ าเภอวารินช าราบ  และอ าเภอเดชอุดม

                         ทิศใต้         ติดต่อกับอ าเภอเดชอุดม และอ าเภอโนนคูณ (จังหวัดศรีสะเกษ)
                         ทิศตะวันตก   ติดต่อกับอ าเภอโนนคูณ  และอ าเภอกันทรารมย์ (จังหวัดศรีสะเกษ)
                         สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป

                         ลักษณะภูมิอากาศเป็นแบบ TOPCAL SAWANNA ปริมาณน้ าฝนเฉลี่ย 1,668 มิลลิเมตรต่อปี  จ านวน
                  ประชากรทั้งสิ้น รวม 51,919 คน แยกเป็น ชาย รวม 25,918 คน หญิง รวม 26,001 คน ความหนาแน่นของ
                  ประชากร 129.39 คนต่อตารางกิโลเมตร
                         ทรัพยากรดิน
                         มีเนื้อดินเป็นพวกดินร่วนปนทราย ดินทรายปนดินร่วน สีพื้นเป็นสีเทาหรือน้ าตาลปนเทา มีจุดประสี

                  น้ าตาลปนเหลืองหรือสีเหลืองปนน้ าตาลอ่อน และอาจพบศิลาแลงอ่อนในดินชั้นล่าง มีสภาพพื้นที่ค่อนข้าง
                  ราบเรียบ เป็นดินลึกมีการระบายน้ าค่อนข้างเลว ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ า ปฏิกิริยาดินเป็นกรด
                  จัดถึงเป็นกรดแก่ ค่าความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ  4.5-5.5 บริเวณดังกล่าว ส่วนใหญ่ในฤดูฝนใช้ปลูกข้าว

                  บางแห่งยังคงสภาพเป็นป่าอยู่ หรือใช้ปลูกไม้ยืนต้น แต่มักมีปัญหาเรื่องการแช่ขังของน้ าในช่วงฤดูฝน ตัวอย่าง
                  ชุดดินที่อยู่ในกลุ่มนี้ได้แก่ ชุดดินน้ ากระจาย ชุดดินสีทน ชุดดินสันทราย และชุดดินชัยภูมิ
                         ปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดิน
                         สภาพพื้นที่ค่อนข้างราบเรียบ เนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย หรือดินทรายปนดินร่วน ดินล่างเป็นดิน

                  ร่วนปนทรายแป้งหรือดินร่วนปนทรายสลับกันไปไม่แน่นอน เป็นกลุ่มชุดดินที่เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดดินพวก
                  ตะกอนล าน้ าหรือจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่ หรือจากการสลายตัวผุพังแล้วถูกเคลื่อนย้ายมาทับถมของวัสดุ
                  เนื้อหยาบ  พบในบริเวณที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ ส่วนใหญ่มีน้ าแช่ขังช่วงฤดูฝน เป็นดินลึกที่มีการ
                  ระบายน้ าค่อนข้างเลว เนื้อดินเป็นพวกดินร่วนหยาบ โดยมีเนื้อดินบนเป็นพวกดินร่วนปนทรายหรือดินทรายปน

                  ดินร่วนดินล่างเป็นดินร่วนปนทรายสีพื้นเป็นสีเทาหรือสีน้ าตาลปนเทามีจุดประสีน้ าตาลปนเหลืองหรือสีเหลือง
                  ปนน้ าตาลและอาจพบมีศิลาแลงอ่อนในดิน ชั้นล่างดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ า ปฏิกิริยาดินเป็น
                  กรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ 4.5-5.5  ข้อจ ากัดในการใช้ประโยชน์มีเนื้อดิน
                  ค่อนข้างเป็นทรายมีความสามารถในการอุ้มน้ าต่ าและดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ า (ที่มา:

                  http://th.wikipedia.org/wiki/อ าเภอส าโรงวันที่ 28 มิถุนายน 2558)
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29