Page 27 - การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังข้าวร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตในพื้นที่ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ตำบลโนนกลาง อำเภอสำโรง จังหวัดอุบลราชธานี
P. 27

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          18


                  บาทต่อไร่  ข้าวเจ้านาปีเกษตรกรปลูกพันธุ์ขาวดอกมะลิ105 และกข.15  ผลผลิตเฉลี่ย 330 กิโลกรัมต่อไร่
                  ต้นทุนการผลิต 1,560 บาทต่อไร่  พริกเกษตรกรนิยมปลูกพันธุ์หัวเรือ ผลผลิตเฉลี่ย 800 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุน
                  การผลิต 1,200 กิโลกรัมต่อไร่  พืชผักเกษตรกรจะปลูกหลังการเก็บเกี่ยวข้าว  พืชผักที่นิยมปลูก เช่น แตงกวา

                  มะเขือ  ถั่วฝักยาวและอื่นๆ
                         การผลิตสัตว์เป็นการเลี้ยงเพื่อการจ าหน่ายและบริโภค ได้แก่ ไก่เนื้อ  ไก่พื้นเมือง  โคเนื้อ  กระบือ
                  สุกรและเป็ด  จะเลี้ยงแบบปล่อยตามธรรมชาติและบริเวณบ้านส่วนใหญ่ เป็นพันธุ์ที่ทางราชการส่งเสริมและ
                  พันธุ์พื้นเมือง  ด้านการประมงเป็นการเลี้ยงปลาในบ่อและตามสระน้ าในไร่นาเพื่อการบริโภค

                         การอุตสาหกรรม  มีโรงสีข้าว 24 แห่ง
                         ทรัพยากรที่ดินและการใช้ที่ดิน
                         จากการส ารวจทรัพยากรดิน โดยส่วนมาตรฐานการส ารวจจ าแนกดินและที่ดิน ส านักส ารวจดินและ

                  วางแผนการใช้ที่ดิน (2550) พบว่าทรัพยากรดินในจังหวัดอุบลราชธานีมี 25 กลุ่มชุดดิน  โดยในต าบลโนนกลาง
                  พบ 7 กลุ่มชุดดิน  เมื่อพิจารณาตามสภาพพื้นที่ สามารถแยกได้เป็นดินในที่ดอนและที่ลุ่ม  โดยในที่ดอนพบ
                  กลุ่มชุดดินที่ 37B และ 49B  ส่วนในที่ลุ่มพบกลุ่มชุดดินที่ 17 17hi  22  24 และ 25  นอกจากนี้ยังพบกลุ่มชุด
                  ดินผสมระหว่างที่ดอนและที่ลุ่มคือ 25-49 และ 41B  24 ในที่นี้ยังมีพื้นที่เบ็ดเตล็ด ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ไม่เหมาะสม
                  ต่อการท าการเกษตรหรือไม่สามารถท าการเกษตรได้เช่น ชุมชนและสิ่งปลูกสร้างแหล่งน้ า พื้นที่เต็มไปด้วยก้อน

                  หิน บ่อดิน เป็นต้น  นอกจากนี้ จากการศึกษายังพบว่า ลักษณะดินที่เป็นปัญหาหลักต่อการท าการเกษตรของ
                  ต าบลนี้คือ  ดินตื้นถึงลูกรังซึ่งพบในที่ดอนดินตื้นถึงก้อนกรวดหรือลูกรังซึ่งพบในที่ลุ่มและดินทรายจัด ซึ่งพบใน
                  พื้นที่ผสมระหว่างที่ดอนและที่ลุ่ม  จากการส ารวจและวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดินของจังหวัดอุบลราชธานีโดย

                  ส่วนวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดินที่ 2 ส านักส ารวจดินและวางแผนการใช้ที่ดิน (2550)  พบว่าในต าบลโนนกลาง
                  สามารถจ าแนกการใช้ที่ดินได้เป็น 5 ประเภทหลัก คือพื้นที่ป่าไม้ พื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่น้ า พื้นที่ชุมชนและสิ่ง
                  ปลูกสร้างและพื้นที่อื่นๆ  (เช่นทุ่งหญ้าและไม้ละเมาะ)  โดยสภาพการใช้ที่ดินที่มีเนื้อที่มากที่สุดคือนาข้าวซึ่งมี
                  เนื้อที่ 26,056 ไร่  กลุ่มชุดดินในพื้นที่ที่ด าเนินการจัดท าศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน  ต าบลโนน

                  กลาง  อ าเภอส าโรง  จังหวัดอุบลราชธานีเป็นกลุ่มชุดดินที่ 22  ชุดดินสีทนดังมีรายละเอียดของกลุ่มชุดดิน
                  ต่างๆดังนี้
                         กลุ่มชุดดินที่ 22
                         เป็นกลุ่มชุดดินที่เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดดินพวกตะกอนล าน้ า หรือจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่ หรือ

                  จากการสลายตัวผุพังแล้วถูกเคลื่อนย้ายมาทับถมของวัสดุเนื้อหยาบ พบในบริเวณที่ราบเรียบ หรือค่อนข้าง
                  ราบเรียบ ส่วนใหญ่มีน้ าแช่ขังในช่วงฤดูฝน มีสภาพพื้นที่ราบเรียบ หรือค่อนข้างราบเรียบมีน้ าแช่ขังในช่วงฤดู
                  ฝน เป็นดินลึกที่มีการระบายน้ าค่อนข้างเลว เนื้อดินเป็นพวกดินร่วนหยาบ โดยมีเนื้อดินบนเป็นพวกดินร่วนปน
                  ทรายหรือดินทรายปนดินร่วน ดินล่างเป็นดินร่วนปนทราย สีพื้นเป็นสีเทาหรือสีน้ าตาลปนเทา มีจุดประสี

                  น้ าตาลปนเหลืองหรือสีเหลืองปนน้ าตาลและอาจพบมีศิลาแลงอ่อนในดินชั้นล่างดิน มีความอุดมสมบูรณ์ตาม
                  ธรรมชาติต่ า ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด  มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ 4.5-5.5 โดยใน
                  จังหวัดอุบลราชธานีพบกลุ่มชุดดินที่ 22 22hi และ 22B
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32