Page 19 - การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังข้าวร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตในพื้นที่ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ตำบลโนนกลาง อำเภอสำโรง จังหวัดอุบลราชธานี
P. 19

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          10


                  ในการปลูกพืชไร่และไม้ผล  ค่อนข้างไม่เหมาะสมที่จะน ามาปลูกพืชผัก และไม่เหมาะสมที่จะใช้ในการท านา
                  เนื่องจากเนื้อดินค่อนข้างเป็นทรายและสภาพพื้นที่ไม่อ านวย แต่สามารถใช้ประโยชน์ในการปลูกไม้โตเร็วและ
                  ปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์ได้ดี

                         การจ าแนกความเหมาะสมและข้อจ ากัดของดินส าหรับการปลูกพืช
                         ความเหมาะสมและข้อจ ากัดของดินส าหรับการปลูกพืช จ าแนกโดยใช้หลักเกณฑ์ของกรมพัฒนาที่ดิน
                  จากเอกสารวิชาการฉบับที่ 28 (กองส ารวจดิน) และฉบับที่ 453 (กองส ารวจและจ าแนกดิน) สรุปได้ดังนี้
                         1. ดินที่มีความเหมาะสมดีส าหรับปลูกข้าว มีเนื้อที่ประมาณ 273,249 ไร่ หรือร้อยละ 2.777 ของเนื้อ

                  ที่ทั้งหมด
                         2. ดินที่มีความเหมาะสมดีส าหรับปลูกข้าว แต่มีข้อจ ากัดเกี่ยวกับความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ า เนื้อดิน
                  ค่อนข้างเป็นทราย อาจขาดแคลนน้ าเมื่อฝนทิ้งช่วง หรือเป็นพื้นที่ดินเค็ม มีเนื้อที่ประมาณ 2,204,668 ไร่ หรือ

                  ร้อยละ 22.404 ของเนื้อที่ทั้งหมด
                         3. ดินที่ไม่ค่อยเหมาะสมส าหรับปลูกข้าว เนื่องจากเป็นการใช้ที่ดินไม่ตรงตามศักยภาพของดิน มีสภาพ
                  พื้นที่ลาดชัน  ความอุดมสมบูรณ์ต่ าและเนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย มีเนื้อที่ประมาณ 1,749,387 ไร่ หรือร้อยละ
                  17.777 ของเนื้อที่ทั้งหมด
                         4. ดินที่มีความเหมาะสมดีส าหรับปลูกพืชไร่  ไม้ผลและไม้ยืนต้นมีเนื้อที่ประมาณ 75,034 ไร่ หรือร้อย

                  ละ 0.762 ของเนื้อที่ทั้งหมด
                         5.  ดินที่มีความเหมาะสมดีส าหรับปลูกพืชไร่  ไม้ผล และไม้ยืนต้น แต่มีข้อจ ากัดเกี่ยวกับความอุดม
                  สมบูรณ์ของดินต่ า เนื้อดินไม่เหมาะสม มีเนื้อที่ประมาณ  1,593,222 ไร่หรือร้อยละ 16.190 ของเนื้อที่ทั้งหมด

                         6.  ดินที่มีความเหมาะสมส าหรับปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น และพืชไร่ เช่น มันส าปะหลัง ข้าวฟ่าง แต่มี
                  ข้อจ ากัดเกี่ยวกับความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ า  เนื้อดินไม่เหมาะสม มีเนื้อที่ประมาณ 1,215,474 ไร่ หรือ
                  ร้อยละ 12.352 ของเนื้อที่ทั้งหมด
                         7. ดินที่มีความเหมาะสมส าหรับปลูกพืชไร่ ไม้ผล ไม้ยืนต้น แต่มีข้อจ ากัดเกี่ยวกับการเป็นดินตื้น มีก้อน

                  หิน เศษหิน ก้อนกรวดปะปนมาก มีเนื้อที่ประมาณ 1,085,994 ไร่  หรือร้อยละ 11.036 ของเนื้อที่ทั้งหมด
                         8. ดินที่มีความเหมาะสมส าหรับปลูกไม้ยืนต้น ไม้ผล หรือปลูกสร้างสวนป่า แต่มีข้อจ ากัดเกี่ยวกับการ
                  เป็นดินตื้น มีก้อนหิน เศษหิน ก้อนกรวดปะปนมาก มีเนื้อที่ประมาณ 186,925 ไร่  หรือร้อยละ 1.900 ของเนื้อ
                  ที่ทั้งหมด

                         9. ดินที่ไม่เหมาะสมส าหรับการท าการเกษตร  เนื่องจากเป็นพื้นที่มีหินพื้นโผล่ปะปน  มีก้อนหิน  เศษ
                  หิน  ปะปนมาก  และมีความลาดชันมากกว่าร้อยละ 35  มีเนื้อที่ประมาณ 870,578 ไร่  หรือร้อยละ 8.847
                  ของเนื้อที่ทั้งหมด
                         ปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดินและแนวทางการแก้ไข

                            ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า
                             ดินที่มีคุณสมบัติในการให้ผลผลิตของพืชต่ า เนื่องมาจากการมีอินทรียวัตถุ ความเป็นประโยชน์ของ
                  ฟอสฟอรัสและโพแทสเซียม การอิ่มตัวด้วยประจุบวกที่เป็นด่างและความสามารถในการแลกประจุบวกต่ า ทั้งนี้

                  เป็นเพราะทรัพยากรดินในเขตจังหวัด  เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดที่สลายตัวและผุพังมาจากหินชุดโคราช (khorat
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24