Page 23 - การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังข้าวร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตในพื้นที่ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ตำบลโนนกลาง อำเภอสำโรง จังหวัดอุบลราชธานี
P. 23

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          14


                  ประมาณ 160,000 ไร่  ส่วนอ่างเก็บน ้าขนาดกลางมีกระจายอยู่ตามพื้นที่ต่างๆ รวมจ านวน 20 อ่าง ความจุน ้า
                  รวม 11,921,213 ลานลูกบาศก์เมตร สามารถส่งน ้าเพื่อการเกษตรไดในพื้นที่ประมาณ 91,708 ไร
                         ทรัพยากรป่าไม้

                         ทรัพยากรธรรมชาติที่ส าคัญของจังหวัดอุบลราชธานี คือ ป่าไม้ มีทั้งป่าเต็งรัง หรือป่าแดงที่มีอยู่ทั่วไป
                  ป่าดงดิบในเขตอ าเภอน้ ายืนและป่าผสม ส่วนป่าเบญจพรรณ มีอยู่ในบริเวณ อ าเภอเขมราฐ อ าเภอบุณฑริก
                  และ อ าเภอพิบูลมังสาหาร ไม้ส่วนใหญ่ ได้แก่ ไม้ยาง ไม้ตระแบก ไม้แดง ไม้ประดู่  ไม้เคี่ยม ไม้ชุมแพรก ไม้
                  กันเกรา เป็นต้น

                         จากการแปรภาพดาวเทียม Landsat-5 ปรากฏว่ามีพื้นที่ป่าไม้เหลือจริง ในปี 2538 เนื้อที่ประมาณ
                  2,495 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 1.56 ล้านไร่ หรือประมาณ ร้อยละ 15.49 ของเนื้อที่ทั้งหมดของจังหวัด
                  อุบลราชธานี พื้นที่ป่าไม้ที่เหลืออยู่นี้จะขึ้นหนาแน่น บริเวณแนวชายแดนเป็นส่วนใหญ่ เพราะมีสภาพเป็นภูเขา

                  สูง ไม่เหมาะต่อการเกษตรกรรมประการหนึ่ง ทั้งเป็นเขตหวงห้ามของทางราชการ ซึ่งบางพื้นที่ไม่มีความ
                  ปลอดภัย  พื้นที่ป่าไม้ของจังหวัดอุบลราชธานี จ าแนกได้ ดังนี้
                         - ป่าถาวร ตามมติ ครม.               จ านวน   1 ป่า   เนื้อที่         7 7 ,3 1 2 .5 0 0     ไร่
                         - ป่าสงวนแห่งชาติ                   จ านวน 46 ป่า   เนื้อที่  3,396,0 0 9 .1 6 3      ไร่
                         - พื้นที่ป่ามอบให้ สปก.             จ านวน 40 ป่า   เนื้ อที่    1,6 6 5 ,543 .3 0 0      ไร่

                         - ป่าอนุรักษ์ ตาม มติ ครม.          จ านวน 10 ป่า   เนื้อที่  1,439,9 9 8 .4 0 2      ไร่
                         - ป่าอนุรักษ์ตามกฏหมาย                  จ านวน  5 ป่า   เนื้อที่         8 8 0 ,2 2 0 .0 0 0     ไร่
                         - สวนป่า                            จ านวน 15 ป่า   เนื้อที่            2 0 ,9 8 5 .7 3 0       ไร่

                         - พื้นที่ป่าธรรมชาติ (รวม จังหวัดอ านาจเจริญ)       เนื้อที่         24,292,656.000      ไร่
                         ทรัพยากรแร่ธาตุ
                         การส ารวจของกรมทรัพยากรธรณี ปรากฏว่า จังหวัดอุบลราชธานี  มีแร่อโลหะเกลือหิน ซึ่งเจาะพบ
                  แล้วมีอยู่  2 แห่ง คือ ที่อ าเภอเมืองอุบลราชธานี 1 หลุม  ลึก 457 ฟุต มีเกลือหินหนา 179 ฟุต และที่อ าเภอ

                  ตระการพืชผล อีก 1 หลุม ลึก 361.5 ฟุต มีเกลือหินหนา 366.5 ฟุต  ซึ่งขณะนี้มีการด าเนินการน าเกลือหินมา
                  ใช้เพียง 1 แห่ง คือ ที่อ าเภอตระการพืชผล  นอกจากนี้มีทรัพยากรแร่ที่อยู่ในรูปของหินชนิดต่าง ๆ อีกมากมาย
                  กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงานได้ให้สัมปทาน การส ารวจปิโตรเลียมแก่บริษัท  Salamander
                  Energy (E&P) Limited  บริษัท CGG  Veritas และ บริษัท IEM CO,Ltd ด าเนินการ ส ารวจปิโตรเลียมใน

                  จังหวัดอุบลราชธานี  ในปี พ.ศ. 2551  พื้นที่โครงการครอบคลุม 6 อ าเภอ 24 ต าบล คือ
                         1. อ าเภอเขมราฐ            9  ต าบล ( ทุกต าบล )
                         2. อ าเภอกุดข้าวปุ้น   2  ต าบล ( ต าบลโนนสวาง และหนองทันน้ า )
                         3. อ าเภอโพธิ์ไทร     6  ต าบล ( ทุกต าบล )

                         4. อ าเภอศรีเมืองใหม่    2  ต าบล ( ต าบลนาเลินและสงยาง )
                         5. อ าเภอนาตาล        4  ต าบล ( ทุกต าบล )
                         6. อ าเภอตระการพืชผล   1  ต าบล ( ต าบลคอนสาย )
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28