Page 14 - การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังข้าวร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตในพื้นที่ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ตำบลโนนกลาง อำเภอสำโรง จังหวัดอุบลราชธานี
P. 14

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                            5


                         5. บริเวณที่เป็นเนินที่เกิดจากการไหลของธารลาวา (Lava flow hill) เป็นเนินเขา ที่เกิดจากการไหล
                  ของธารลาวา ดินบริเวณนี้จะมีศักยภาพทางการเกษตรสูง ซึ่งเป็นผลจากการสลายตัวผุพังของหินบะซอลท์
                  บริเวณนี้จะพบอยู่ในอ าเภอน้ ายืน

                         6. บริเวณที่ลาดเชิงเขา (Foot hill slope) เป็นที่ลาดเชิงเขาที่ตะกอนบริเวณที่เกิดจากขบวนการของ
                  น้ านานมาแล้วทับถมกัน บริเวณนี้จะพบอยู่ในอ าเภอโขงเจียม อ าเภอพิบูลมังสาหาร อ าเภอศรีเมืองใหม่ และ
                  อ าเภอตระการพืชผล
                         7. บริเวณที่ลาดเชิงซ้อน (Slope complex) ลักษณะเป็นภูเขาหรือเทือกเขามีความลาดชันมากกว่า

                  ร้อยละ 35 จะพบบริเวณเทือกเขาพนมดงรักในอ าเภอน้ ายืน อ าเภอนาจะหลวย และอ าเภอบุณฑริก อีกแห่ง
                  หนึ่ง คือ เทือกเขา ภูเขา ซึ่งจะพบมากในอ าเภอโขงเจียม และอ าเภอศรีเมืองใหม่
                         สภาพภูมิอากาศ

                         จังหวัดอุบลราชธานีอยู่ในเขตที่มีปริมาณน้ าฝนค่อนข้างสูง เมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณน้ าฝนเฉลี่ยของ
                  จังหวัดอื่นๆ
                         ฤดูฝน จะเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคมเรื่อยไป จนถึงปลายเดือนตุลาคมและมักปรากฏเสมอว่าฝนทิ้งช่วง
                  ในเดือนมิถุนายน ถึงเดือนกรกฎาคม แต่ระยะเวลาการทิ้งช่วงมักจะไม่เหมือนกันในแต่ละปี และในช่วงปลายฤดู
                  ฝน มักจะมีพายุดีเปรสชั่น ฝนตกชุกบางปีอาจมีภาวะน้ าท่วมแต่ภาวการณ์ไม่รุนแรงนัก

                         ฤดูหนาว เนื่องจากเป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกสุดของประเทศ ท าให้ได้รับอิทธิพลลมมรสุม
                  ตะวันออกเฉียงเหนือก่อนภูมิภาคอื่น อุณหภูมิจะเริ่มลดต่ าลงตั้งแต่เดือนตุลาคมและจะสิ้นสุดปลายเดือน
                  มกราคม

                         ฤดูร้อน ถึงแม้ว่าเคยปรากฏบ่อยครั้งว่าอากาศยังคงหนาวเย็นยืดเยื้อมาจนถึงปลายเดือนกุมภาพันธ์
                  โดยส่วนใหญ่แล้วอากาศจะเริ่มอบอ้าวในเดือนกุมภาพันธ์ไปจนถึงประมาณต้นเดือนพฤษภาคมซึ่งอาจจะมีฝน
                  เริ่มตกอยู่บ้างในปลายเดือนเมษายน แต่ปริมาณน้ าฝนมักจะไม่เพียงพอเพาะปลูก
                         นอกจากนั้นลักษณะภูมิอากาศทั่วไป คล้ายคลึงกับจังหวัดอื่นๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ จะมี

                  อากาศร้อนในฤดูร้อนและค่อนข้างหนาวในฤดูหนาว ส่วนในฤดูฝนจะมีฝนตกชุกในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือน
                  กันยายน และในปี  2552  มีฝนตกประมาณ 114 วัน ปริมาณน้ าฝนวัดได้ 1976.2  มิลลิเมตร
                         การปกครอง
                         ในปี พ.ศ.  2553 จังหวัดอุบลราชธานี แบ่งการปกครองส่วนภูมิภาคออกเป็น 25 อ าเภอ 219 ต าบล

                  2,699 หมู่บ้าน  โดยมีอ าเภอ  ดังนี้ อ าเภอเมืองอุบลราชธานี  อ าเภอกุดข้าวปุ้น อ าเภอเขมราฐ อ าเภอเขื่อง
                  ใน อ าเภอโขงเจียม อ าเภอดอนมดแดง อ าเภอเดชอุดม อ าเภอตระการพืชผล อ าเภอตาลสุม อ าเภอทุ่งศรีอุดม
                  อ าเภอนาจะหลวย อ าเภอน้ ายืน อ าเภอบุณฑริก อ าเภอพิบูลมังสาหาร  อ าเภอโพธิ์ไทร อ าเภอม่วงสามสิบ
                  อ าเภอวารินช าราบ  อ าเภอศรีเมืองใหม่ อ าเภอส าโรง อ าเภอสิรินธร อ าเภอนาเยีย อ าเภอเหล่าเสือโก้ก อ าเภอ

                  นาตาล อ าเภอสว่างวีระวงศ์ และอ าเภอน้ าขุ่น การปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย
                         1. องค์การบริหารส่วนจังหวัด         จ านวน     1  แห่ง
                         2. เทศบาล                           จ านวน   27  แห่ง

                         3. องค์การบริหารส่วนต าบล (อบต.)    จ านวน 199  แห่ง
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19