Page 18 - การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังข้าวร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตในพื้นที่ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ตำบลโนนกลาง อำเภอสำโรง จังหวัดอุบลราชธานี
P. 18

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                            9


                                2.1 กลุ่มดินไร่ทั่วไปคละกับดินนาทั่วไป อยู่ในเขตอ าเภอม่วงสามสิบ  อ าเภอตระการพืชผล
                  อ าเภอศรีเมืองใหม่ อ าเภอตาลสุม  พิบูลมังสาหาร อ าเภอเดชอุดม อ าเภอวารินช าราบ อ าเภอเมืองและอ าเภอ
                  ส าโรง

                                2.2 กลุ่มดินไร่ตื้นคละกับดินนาทั่วไป  อยู่ในเขตอ าเภอกุดข้าวปุ้น  และอ าเภอเขมราฐ
                                2.3 กลุ่มดินไร่ตื้นคละกับดินนาตื้น  อยู่ในพื้นที่อ าเภอเดชอุดม และอ าเภอน้ ายืน
                         3.  กลุ่มดินนา   มีพื้นที่ประมาณร้อยละ 15  ของพื้นที่ทั้งจังหวัด  ส่วนมากครอบคลุมพื้นที่ทางทิศ
                  ตะวันตก และตอนกลางของจังหวัด  สามารถแยกตามคุณสมบัติของดิน  ได้ดังนี้

                                3.1 กลุ่มดินนาทั่วไป  อยู่ในเขตอ าเภอพิบูลมังสาหาร  อ าเภอน้ ายืน  และอ าเภอส าโรง
                                3.2 กลุ่มดินนาดี  อยู่ในบริเวณลุ่มแม่น้ ามูล บริเวณตอนกลางของจังหวัดครอบคลุมพื้นที่
                  อ าเภอเขื่องใน  อ าเภอเมือง อ าเภอวารินช าราบ  และอ าเภอตาลสุม

                                3.3 กลุ่มดินนาตื้น อยู่ทางทิศใต้ของจังหวัดในเขตอ าเภอพิบูลมังสาหาร และอ าเภอเดชอุดม
                         4.  กลุ่มพื้นที่สูงและภูเขา ครอบคลุมพื้นที่ประมาณร้อยละ  15 ของพื้นที่ทั้งจังหวัด ส่วนใหญ่อยู่ทาง
                  ทิศเหนือและทิศตะวันออกเฉียงเหนือเป็นแนวยาวลงไปทางทิศใต้ของจังหวัด และเป็นแนวแบ่งเขตแดนระหว่าง
                  ประเทศไทยกับประเทศกัมพูชาประชาธิปไตย
                         5.  กลุ่มดินเค็ม   กลุ่มดินเค็มนี้จะอยู่ปะปนกับดินไร่ทั่วไปและดินนาทั่วไป กลุ่มดินทรายและดินไร่

                  ทั่วไป กลุ่มดินนาทั่วไปและบางส่วนของกลุ่มดินไร่ โดยรวมแล้ว กลุ่มดินเค็มครอบคลุมพื้นที่ประมาณร้อยละ
                  10  ของ พื้นที่ทั้งหมดของจังหวัด ซึ่งมีดินเค็มอยู่ 3 ระดับ  ได้แก่
                                5.1 ดินเค็มน้อย   มีอยู่ประมาณร้อยละ 15 ของพื้นที่นาในจังหวัด อยู่ในพื้นที่ อ าเภอเมือง

                  อ าเภอเขื่องใน อ าเภอม่วงสามสิบ และอ าเภอตระการพืชผล
                                5..2 ดินเค็มปานกลาง   มีประมาณร้อยละ 0.40 ของพื้นที่นาในจังหวัด ส่วนมากอยู่ในพื้นที่
                  ราบเขตอ าเภอเขื่องใน และอ าเภอม่วงสามสิบ
                                5.3 ดินเค็มจัด  มีประมาณร้อยละ 2 ของพื้นที่นาในจังหวัด อยู่ในเขตอ าเภอเขื่องในและ

                  อ าเภอม่วงสามสิบ
                         สภาพดินโดยทั่วไป
                         สภาพดินโดยทั่วไปของจังหวัดอุบลราชธานี  จากผลการส ารวจดิน พบดินทั้งหมด 25 กลุ่มชุดดิน มี
                  เนื้อที่ประมาณ 8,383,953 ไร่   หรือร้อยละ 85.198   และหน่วยพื้นที่เบ็ดเตล็ด 7 หน่วย   ซึ่งได้แก่ที่ลาดชัน

                  เชิงซ้อน ผาชันที่ดินเต็มไปด้วยก้อนหิน พื้นที่ป่าไม้  ที่อยู่อาศัย พื้นที่น้ า มีเนื้อที่ประมาณ 1,456,578 ไร่ หรือ
                  ร้อยละ 14.802
                         กลุ่มชุดดิน
                         กลุ่มชุดดินที่พบในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี กลุ่มชุดดินที่พบมากที่สุด คือ  กลุ่มชุดดินที่ 17  มีเนื้อที่

                  ประมาณ 1,935,820 ไร่ หรือ ร้อยละ 19.67  ของเนื้อที่จังหวัด กลุ่มชุดดินที่ 17  มีศักยภาพเหมาะสมที่จะใช้
                  ในการท านามากกว่าการปลูกพืชไร่ ไม้ผล และพืชผักในช่วงฤดูฝน แต่สามารถปลูกพืชไร่หรือพืชผักที่มีอายุสั้น
                  ได้ในช่วงฤดูแล้ง ถ้ามีแหล่งน้ าธรรมชาติหรือน้ าชลประทานเข้าถึง กลุ่มชุดดินที่พบรองลงมาคือ กลุ่มชุดดินที่

                  40 มีเนื้อที่ประมาณ 1,114,185  ไร่ หรือ ร้อยละ11.32  ของเนื้อที่จังหวัด  กลุ่มชุดดินที่ 40  มีความเหมาะสม
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23