Page 21 - การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังข้าวร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตในพื้นที่ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ตำบลโนนกลาง อำเภอสำโรง จังหวัดอุบลราชธานี
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          12


                  สาเหตุที่ข้าวเสียหาย ส่วนใหญ่แล้วเกิดจากการขาดแคลนน้ าในระยะที่ข้าวก าลังเจริญเติบโต ซึ่งเป็นเหตุท าให้
                  ความเข้มข้นของเกลือในดินสูงขึ้นจนถึงขั้นเป็นอันตรายต่อข้าว โดยปกติแล้วถ้ามีน้ าเพียงพอและสม่ าเสมอ
                  ตลอดฤดูเพาะปลูก ข้าวก็จะสามารถเจริญเติบโตได้ดี โดยเฉพาะข้าวพันธุ์ที่ทนเค็ม ดินเค็ม มีเนื้อที่

                  ประมาณ  8,034  ไร่ หรือร้อยละ 0.082 ของเนื้อที่ทั้งจังหวัด  ได้แก่  กลุ่มชุดดินที่ 20
                         แนวทางในการแก้ไข   ลดระดับความเค็มของดิน ด้วยน้ าจืดในพื้นที่ที่มีน้ าชลประทานและด้วย
                  น้ าฝน ป้องกันการแพร่กระจายของดินเค็ม ที่อยู่บนพื้นที่รับน้ า (recharge  area)  ด้วยการปลูกต้นไม้เป็น
                  ธรรมชาติบนพื้นที่รับน้ า จะช่วยลดปัญหาดินเค็มลงได้  การปรับปรุงดินเค็ม เพื่อการปลูกพืชและเพิ่ม

                  ผลผลิต  ด้วยการใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก อัตรา 4–5 ตัน ต่อไร่ อย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน และใช้วัสดุปรับปรุง
                  ดิน เช่น   แกลบ   ขี้เลื่อย ฟางข้าว ฯลฯ อีกทั้งการปลูกพืชปุ๋ยสดแล้วไถกลบลงดิน นอกจากนี้การใช้ ยิปซั่ม
                  คลุกเคล้ากับดินเพื่อช่วยสะเทินความเป็นด่าง

                            ดินที่มีโอกาสเกิดการชะล้างพังทลาย
                            ดินที่เกิดในพื้นที่ที่มีความลาดชันและมีการสูญเสียหน้าดิน  มักเป็นดินเนื้อหยาบหรือดินตื้นและมีความ
                  ลาดชันมาก (มากกว่าร้อยละ 12)  จึงควรอนุรักษ์ไว้เป็นแหล่งต้นน้ าล าธาร แต่ถ้าจ าเป็นต้องใช้ประโยชน์
                             แนวทางในการแก้ไข ควรได้มีการท าแนวป้องกันการชะล้างพังทลายโดยการปลูกหญ้าแฝกขวางความ
                  ลาดเทหรือท าขั้นบันไดดิน ดินที่มีโอกาสเกิดการชะล้างพังทลายมีเนื้อที่ประมาณ 1,057,503 ไร่หรือร้อยละ

                  10.75 ของเนื้อที่ทั้งจังหวัด ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่   48D  48E  56D  56E  62  ES  RL
                         ดินที่มีการใช้ที่ดินผิดประเภท
                            ดินที่มีการใช้ที่ดินที่ไม่เหมาะสมกับศักยภาพของดิน (ส่วนใหญ่พบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)

                  เช่น ดินมีความเหมาะสมในการปลูกพืชไร่ ไม้ผลหรือไม้ยืนต้น แต่ได้ถูกดัดแปลงไปใช้ประโยชน์ในการท านา มี
                  การสร้างคันนา เพื่อเก็บกักน้ า
                             แนวทางในการแก้ไข ควรที่จะใช้ที่ดินให้เหมาะสมกับศักยภาพของดินนั้น ๆ โดยการเลือกพืชปลูก
                  หรือท าทางระบายน้ าออกจากนา หรือทะลายคันนา เพื่อใช้ประโยชน์ปลูกพืชไร่ ไม้ผล ดินที่มีการใช้ที่ดินผิด

                  ประเภท มีเนื้อที่ประมาณ 1,341,942 ไร่ หรือร้อยละ 13.637 ของเนื้อที่ทั้งจังหวัด ได้แก่ กลุ่มชุดดิน
                  ที่ 6hiB  17hiB  22hiB  25hiB
                             ทรัพยากรแหล่งน้ า
                         1.แหล่งน้ าธรรมชาติ

                         จังหวัดอุบลราชธานีมีแหล่งน ้าธรรมชาติที่เป็น แม่น ้า ห้วย ล าธาร คลอง ประมาณ 938 สาย หนอง
                  และบึงรวม 466 แห่ง และทางระบายน ้า 194 แห่ง กระจายอยู่ตามอ าเภอต่างๆ  แม่น ้าและล าห้วยสายใหญ่ที่
                  ส าคัญคือ
                          -  แม่น ้ามูล  ต้นก าเนิดเกิดจากเทือกเขาวงและเขาละมังของเทือกเขาสันก าแพง ในเขตอ าเภอปักธงชัย

                  จังหวัดนครราชสีมา เฉพาะช่วงที่ไหลผ่านจังหวัดอุบลราชธานีมีความยาวประมาณ 100 กม. ไหลผ่านอ าเภอ
                  เมือง วารินช าราบ พิบูลมังสาหารและโขงเจียม ปัจจุบันมีเขื่อนปากมูลกั้นล าน ้าสายนี้ สามารถใช้ประโยชน
                  ทางด้านการเกษตรไดประมาณ 160,000 ไร่
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26