Page 17 - การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังข้าวร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตในพื้นที่ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ตำบลโนนกลาง อำเภอสำโรง จังหวัดอุบลราชธานี
P. 17

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                            8


                     ที่  จังหวัด/อ าเภอ/ต าบล    จ านวนประชากรรวม        ชาย        หญิง      จ านวนครัวเรือน
                    25  อ าเภอน้ าขุ่น                  31,756           16,128     15,628         8,465

                                รวม                    1,813,088        909,405  903,683          493,499
                  ที่มา :  ส านักบริหารทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2553

                         การเมือง

                         จังหวัดอุบลราชธานี มีสมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) จ านวน 1 คน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) แบบแบ่ง
                  เขตเลือกตั้ง จ านวน 11 คน และอยู่ในเขตการเลือกตั้งแบบสัดส่วนในเขต 4 ประกอบด้วย จังหวัดอุบลราชธานี
                  จังหวัดศรีษะเกษ จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดร้อยเอ็ด และจังหวัดยโสธร

                         สภาพเศรษฐกิจ
                         สภาพเศรษฐกิจโดยทั่วไป จังหวัดอุบลราชธานีมีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดที่ 110,156 ล้านบาท
                  มีรายได้ต่อหัวประชากรที่ 59,965 บาทต่อคนต่อปี สาขาการผลิตที่ท ารายได้มีมูลค่ามากที่สุด คือ การขายส่ง-
                  ขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ มีมูลค่าจ านวน 34,634 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน 28.70 รองลงมาคือสาขา

                  เกษตรกรรม การป่าไม้ และการล่าสัตว์ มีมูลค่า 20,772 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 18.80 และสาขา
                  อุตสาหกรรม มีมูลค่า 16,711 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน 15.20
                         ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
                         ทรัพยากรดิน

                         กรมพัฒนาที่ดิน  กระทรวงเกษตรและสหกรณ์  ได้แบ่งลักษณะของดินในจังหวัดอุบลราชธานี
                  ออกเป็น 5 กลุ่มใหญ่ ดังนี้
                         1.  กลุ่มดินไร่  ครอบคลุมพื้นที่ร้อยละ 40 ของพื้นที่ทั้งหมดของจังหวัดโดยกระจัดกระจายอยู่ทั่วไป
                  สามารถแยกได้ ดังนี้

                                    1.1 กลุ่มดินไร่ทั่วไป  มีพื้นที่เพียงเล็กน้อย ส่วนใหญ่อยู่ทางทิศใต้  ทิศเหนือตอนกลาง และ
                  ทิศตะวันตกของจังหวัด  ดินกลุ่มนี้จะครอบคลุมพื้นที่ อ าเภอเขมราฐ  อ าเภอศรีเมืองใหม่ อ าเภอโขงเจียม
                  อ าเภอพิบูลมังสาหาร อ าเภอบุณฑริก อ าเภอน้ ายืน อ าเภอเมือง และอ าเภอเขื่องใน

                                1.2 กลุ่มดินไร่ตื้น  ส่วนใหญ่กระจายอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ในพื้นที่อ าเภอโขงเจียม
                  อ าเภอศรีเมืองใหม่ และอ าเภอตาลสุม
                                1.3 กลุ่มดินไร่ดี อยู่ในพื้นที่ อ าเภอน้ ายืน
                                1.4 กลุ่มดินไร่ทราย อยู่ในพื้นที่ อ าเภอวารินช าราบ  อ าเภอบุณฑริก  อ าเภอน้ ายืน และ
                  อ าเภอส าโรง

                         2. กลุ่มดินคละ  ครอบคลุมพื้นที่ร้อยละ 30 ของพื้นที่ทั้งจังหวัด ส่วนมากจะอยู่บริเวณตอนกลางของ
                  จังหวัด   แยกได้ดังนี้
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22