Page 12 - การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังข้าวร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตในพื้นที่ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ตำบลโนนกลาง อำเภอสำโรง จังหวัดอุบลราชธานี
P. 12

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                            3


                         เนื่องจากพื้นที่เกษตรกรรมของอ าเภอส าโรงมีพื้นที่ท านาข้าว ซึ่งมีเนื้อที่  26,056 ไร่ ดังนั้นการทดสอบ
                  สาธิตจึงเน้นหนักทางด้านการไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังข้าวร่วมกับการใช้น้ าหมักชีวภาพ เพื่อเพิ่มผลผลิตข้าว
                  และนอกจากนี้ในพื้นที่ของศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินต้องมีการทดสอบและสาธิต   การใช้

                  ผลิตภัณฑ์ชีวภาพและเทคโนโลยีด้านการพัฒนาที่ดินของกรมพัฒนาที่ดินด้านอื่นๆ ควบคู่กันไปด้วยเพื่อเป็น
                  แปลงตัวอย่างและถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกรรายอื่นต่อไป

                                                          วัตถุประสงค์


                  1. เพื่อใหเกษตรกรทราบถึงประโยชนของการไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังข้าวและลดการใชปุยเคมี
                  2. เพื่อปรับปรุงโครงสรางดิน

                  3. เพื่อเพิ่มผลผลิตขาวหลังจากไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังข้าว
                  4. เพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุและธาตุอาหารพืชในดิน

                                                    ขอบเขตของการด าเนินงาน


                                ด าเนินงานจัดท าศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ครอบคลุมพื้นที่  29  ไร่  ในแปลง
                  นาของ นายส าลี  บัวเงิน  หมอดินอาสาประจ าอ าเภอส าโรง ต าบลโนนกลาง  อ าเภอส าโรง  จังหวัด
                  อุบลราชธานี     สถานที่ บ้านทุ่งสว่าง หมู่ที่ 3  ต าบลโนนกลาง  อ าเภอส าโรง  จังหวัดอุบลราชธานี  โดยน า

                  กิจกรรมต่าง ๆ  เข้าไปด าเนินงานในศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน  โดยเน้นแนวทางการใช้ประโยชน์
                  ที่ดิน  ค านึงถึงการอนุรักษ์ดินและน้ าที่เหมาะสมในพื้นที่  รวมทั้งปรับเปลี่ยนทัศนคติของเกษตรกรในการใช้น้ า
                  หมักชีวภาพทดแทนสารเคมีทางการเกษตร  โดยด าเนินการตั้งจุดเรียนรู้การพัฒนาที่ดิน ตามกิจกรรมที่มี
                  ภายในศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ทั้งสิ้น 7 จุด  คือ  จุดเรียนรู้การไถกลบตอซัง การผลิตน้ าหมัก

                  ชีวภาพ  การผลิตน้ าหมักสมุนไพร การผลิตปุ๋ยหมัก  การปรับปรุงบ ารุงดินด้วยพืชปุ๋ยสด การปรับปรุงบ ารุงดิน
                  ด้วยปุ๋ยหมักในแปลงผัก และการอนุรักษ์ดินและน้ าด้วยหญ้าแฝก

                                                        การตรวจเอกสาร


                  สภาพทั่วไปของจังหวัดอุบลราชธานี
                         ที่ตั้งและอาณาเขต
                         จังหวัดอุบลราชธานี ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย  ได้รับการตั้งเป็นจังหวัดเมื่อ

                  พ.ศ. 2335   อยู่ระหว่างเส้นรุ้งที่ 16 องศา 10 ลิปดา ถึง 16 องศา 15 ลิปดาเหนือ และเส้นแวงที่ 104 องศา
                  32 ลิปดาตะวันออก ถึงเส้นแวงที่ 105 องศา 24 ลิปดาตะวันออก  ระดับความสูงของภูเขามีตั้งแต่   200-
                  300 เมตร ถึง 600-700 เมตร  ตัวจังหวัดอยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครโดยทางรถยนต์เป็นระยะทาง
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17