Page 10 - การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังข้าวร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตในพื้นที่ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ตำบลโนนกลาง อำเภอสำโรง จังหวัดอุบลราชธานี
P. 10

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                           บทคัดย่อ

                         การจัดท าจุดเรียนรู้ด้านต่างๆ ในการพัฒนาปรับปรุงบ ารุงดิน  ในศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนา

                  ที่ดิน ด าเนินการ ณ บ้านเลขที่ 22  หมู่ที่ 3  บ้านทุ่งสว่าง  ต าบลโนนกลาง  อ าเภอส าโรง  จังหวัดอุบลราชธานี
                  เป็นชุดดินสีทน กลุ่มชุดดินที่ 22 ซึ่งได้ด าเนินการระหว่างเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2555-ธันวาคม พ.ศ. 2557 สภาพ
                  พื้นที่ค่อนข้างราบเรียบ พบว่าค่าความเป็นกรด-ด่างอยู่ในเกณฑ์เป็นกรดปานกลาง ปริมาณอินทรียวัตถุอยู่ใน
                  เกณฑ์ต่ ามาก ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์อยู่ในระดับต่ ามาก ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์อยู่ใน

                  ระดับต่ ามาก ข้อจ ากัดในการใช้ประโยชน์มีเนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย มีความสามารถในการอุ้มน้ าต่ าและดินมี
                  ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ า  สถานีพัฒนาที่ดินอุบลราชธานี จึงมีแนวทางแก้ไขปัญหาด้วยการน า
                  เทคโนโลยีด้านการพัฒนาที่ดินของกรมพัฒนาที่ดิน มาปรับใช้เพื่อแก้ไขปัญหา เพื่อให้เกษตรกรในพื้นที่ได้เกิด

                  การเรียนรู้และสามารถน าความรู้ไปแก้ไขปัญหาในพื้นที่ตนเอง โดยการจัดท าจุดเรียนรู้ขึ้น 7 จุด เพื่อเป็น
                  แบบอย่างในการแก้ปัญหาคือ  จุดเรียนรู้ที่ 1 จุดเรียนรู้การไถกลบตอซัง จุดเรียนรู้ที่ 2 การผลิตน้ าหมักชีวภาพ
                  จุดเรียนรู้ที่ 3 การผลิตน้ าหมักสมุนไพร จุดเรียนรู้ที่ 4 การผลิตปุ๋ยหมัก  จุดเรียนรู้ที่ 5 การปรับปรุงบ ารุงดิน
                  ด้วยพืชปุ๋ยสด จุดเรียนรู้ที่ 6 การปรับปรุงบ ารุงดินด้วยปุ๋ยหมักในแปลงผัก จุดเรียนรู้ที่ 7 การอนุรักษ์ดินและน้ า
                  ด้วยหญ้าแฝก

                         เนื่องจากน้ าหมักชีวภาพ ปุ๋ยหมัก เป็นสิ่งจ าเป็นส าหรับดินทรายโดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีความลาดชัน
                  เนื่องจากสามารถลดการสูญเสียจากการชะล้างและการกร่อนดินและยังช่วยให้พืชที่ปลูกมีการเจริญเติบโตและ
                  การดูดธาตุอาหารได้ดีขึ้นและเพื่อแก้ปัญหาความสมบูรณ์ของดินต่ า เนื่องจากมีปริมาณอินทรียวัตถุ ธาตุ

                  โพแทสเซียมและฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ต่อพืชอยู่ในเกณฑ์ต่ าถึงต่ ามาก ความสามารถในการแลกเปลี่ยน
                  ธาตุอาหารต่ ามาก เป็นเหตุให้การใช้ปุ๋ยเคมีให้ผลตอบสนองต่อพืชต่ าและเป็นผลให้ผลผลิตต่อหน่วยพื้นที่ลดลง
                  ด้วยการปลูกพืชตระกูลถั่วคลุมดินร่วมกับการปลูกไม้โตเร็ว แล้วจึงไถกลบพืชตระกูลถั่วเป็นปุ๋ยพืชสดเพื่อเพิ่ม
                  ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน

                         ผลการด าเนินงาน จากการเปรียบเทียบผลของการไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังข้าวร่วมกับการใช้น้ า
                  หมักชีวภาพกับไม่ไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังข้าวร่วมกับการใช้น้ าหมักชีวภาพ พบว่า ปริมาณฟอสฟอรัส และ
                  โพแทสเซียมทั้ง 2 วิธีการมีการเปลี่ยนแปลงที่ไม่แตกต่างกัน  ปริมาณอินทรียวัตถุในดินมีการเปลี่ยนแปลงที่
                  แตกต่างกันก่อนการปลูกข้าว   ทั้ง  2 วิธีการ  มีค่าอยู่ในระดับต่ ามาก หลังการปลูกข้าววิธีการไถกลบตอซังจะ

                  มีค่าอยู่ในระดับสูง แต่ถ้าไม่มีการไถกลบตอซังจะมีค่าอยู่ในระดับต่ ามากเหมือนเดิม  และค่าความเป็นกรดเป็น
                  ด่าง (pH) ของดินทั้ง 2 วิธีการก่อนการปลูกข้าวทั้ง 2 วิธีการมีค่าอยู่ในระดับเป็นกรดเล็กน้อย  หลังการปลูก
                  ข้าววิธีการไถกลบตอซังค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) จะอยู่ในระดับเป็นกรดปานกลาง ซึ่งเหมาะส าหรับการ
                  ปลูกข้าว  ส่วนวิธีการไม่ไถกลบตอซังจะมีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (pH)  อยู่ในระดับเป็นกรดเล็กน้อย

                  เหมือนเดิม  ส่วนผลผลิตของข้าวที่ปลูก พบว่า  ผลผลิตของทั้ง 2 วิธีการจะมีความแตกต่างกันทางสถิติ วิธีการ
                  ที่มีการไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังข้าวร่วมกับการใช้น้ าหมักชีวภาพผลผลิตเฉลี่ย 1,100 กิโลกรัมต่อไร่ มีผลผลิต
                  เพิ่มขึ้น ร้อยละ 73.77 เมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการที่ไม่มีการไถกลบซึ่งให้ผลผลิต 633 กิโลกรัมต่อไร่ ส่วนการใช้

                  ผลิตภัณฑ์ชีวภาพและเทคโนโลยีด้านการพัฒนาที่ดิน  พบว่าในการปลูกผักสามารถลดค่าใช้จ่ายในการ
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15