Page 33 - ปุ๋ยอินทรีย์และการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย
P. 33

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         22


                  อุปสรรคต่อการไถพรวนและการชอนไชของรากพืช  ความอุดมสมบูรณ์ต่่าของดินต่่า  เกิดการแพร่กระจาย

                  ของดินเค็มและส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศวิทยาในพื้นที่และพื้นที่ใกล้เคียง  ดินและน้่าเค็มจนไม่สามารถใช้
                  ในการเกษตรได้  นอกจากนี้ยังชาดแหล่งน้่าจืดส่าหรับท่าการเกษตร  โดยดินเค็มที่พบ มี 3 แหล่ง ได้แก่

                           (1)  ดินเค็มบกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  เป็นดินที่มีการสะสมเกลือจากการละลายของหินเกลือ

                  หรือจากน้่าใต้ดินที่มีเกลือละลายน้่าอยู่มาก  ท่าให้พบชั้นสะสมเกลือมาก  พบในพื้นที่ภาค
                  ตะวันออกเฉียงเหนือมีเนื้อที่ทั้งหมด 2,20 ล้านไร่  นอกจากนั้นยังมีดินเค็มที่พบคราบเกลือที่ผิวดินและได้รับ

                  ผลกระทบจากความเค็มโดยใช้คราบเกลือในฤดูแล้งเป็นหลักอีกด้วย  และถ้ามนุษย์ไปท่าให้สภาพธรรมชาติ
                  ต่างๆ ถูกเปลี่ยนแปลงหรือท่าให้เสียสมดุล  อาจก่อให้เกิดปัญหาของดินในการใช้ประโยชน์อย่างรุนแรง

                  เพิ่มขึ้น เช่น การแพร่กระจายของดินเค็มอันเนื่องมาจากการท่าลายป่าไม้  หรือการพัฒนาแหล่งน้่าในบริเวณ
                  ที่มีเกลือสะสมอยู่มาก  ท่าให้น้่าใต้ดินซึ่งมีความเค็มถูกยกระดับให้สูงขึ้นและพาเอาเกลือที่ละลายอยู่ในน้่ามาสู่

                  ผิวดินได้

                           (2) ดินเค็มบกภาคกลาง  เป็นพื้นที่ที่เคยมีน้่าทะเลท่วมถึงมาก่อนและเกิดจากการทับถมของ
                  ตะกอนน้่าทะเลและตะกอนน้่ากร่อยอยู่ใต้ตะกอนน้่าจืด  เมื่อมีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างไม่เหมาะสม เช่น การ

                  น่าน้่าใต้ดินที่มีความเค็มมาใช้ในการเกษตรและการชลประทานมากเกินไปอย่างไม่เหมาะสม  การขุดหน้าดิน

                  ขายท่าให้เกลือที่อยู่ใต้ผิวดินได้เคลื่อนย้ายมาสู่ผิวดิน  แล้วเกิดการแพร่กระจายของพื้นที่ดินเค็ม ดินเค็มภาค
                  กลาง  มีพื้นที่ที่เป็นปัญหาประมาณ 0.05 ล้านไร่ พบใน จังหวัดนครปฐม  สุพรรณบุรี  กาญจนบุรี  อ่างทอง

                  สิงห์บุรีและชัยนาท
                           (3) ดินเค็มชายทะเลเกิดจากอิทธิพลของน้่าทะเลท่วมถึงหรือเคยท่วมมาก่อน  บริเวณที่มีสภาพ

                  พื้นที่เป็นที่ลุ่ม  น้่าทะเลท่วมถึง  วัตถุต้นก่าเนิดดินเป็นตะกอนน้่าทะเลและน้่ากร่อย  ดินบริเวณนี้จะมี
                  ความชื้นของดินสูงและมีความเค็มสูง  พืชพรรณที่ขึ้นในบริเวณนี้เป็นไม้ชายเลน  ซึ่งทนเค็มได้ดี เช่น โกงกาง

                  แสมและล่าพู เป็นต้น  เป็นดินมีความเหนียวสูงบางแห่งอาจพบชั้นทรายและเปลือกหอยในดินชั้นล่าง  ดินเค็ม

                  ชายทะเลจะพบกระจัดกระจายทั่วไปในพื้นที่ภาคกลาง จ่านวน 0.27 ล้านไร่  ภาคตะวันออก 0.16 ล้านไร่
                  และภาคใต้ 1.51 ล้านไร่

                           4) ดินทราย  สภาพปัญหาที่พบ ได้แก่  เกิดการชะล้างพังทลายได้ง่าย  มีการระบายน้่าดีถึงดี
                  เกินไป  ไม่อุ้มน้่าท่าให้เกิดปัญหาพืชขาดน้่า  ความสามารถในการแลกเปลี่ยนธาตุอาหารต่่า  ความอุดมสมบูรณ์

                  ของดินต่่า  สมบัติทางกายภาพของดินไม่ดี  ไม่มีโครงสร้างเป็นเม็ดเดี่ยวๆ ท่าให้ไม่เกาะยึดตัว  สูญเสียดิน น้่า

                  และธาตุอาหารได้ง่าย  บางพื้นที่ดินแน่นทึบจากการเขตกรรมไม่เหมาะสม  โดยเฉพาะดินนาที่มีเนื้อดิน
                  ค่อนข้างเป็นทรายละเอียด  ท่าให้เป็นอุปสรรคต่อการชอนไชของรากพืชพืชมีการเจริญเติบโตไม่ดีพบทั่วไปใน

                  ทุกภาคของประเทศ  พบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 8.53 ล้านไร่  รองลงมาคือภาคกลาง 1.01 ล้านไร่
                  ภาคตะวันออก 1.00 ล้านไร่  ภาคใต้ 0.96 ล้านไร่ และภาคเหนือ 0.26 ล้านไร่

                           5) ดินตื้น  สภาพปัญหาที่พบ ได้แก่ มีชั้นลูกรัง ก้อนกรวด หรือเศษหินปะปน ท่าให้เป็นอุปสรรค

                  ต่อการชอนไชของรากพืช และการไถพรวน  มีความอุดมสมบูรณ์ต่่า  ความสามารถในการดูดซับน้่าและธาตุ
                  อาหารต่่าเนื้อดินเหนียวมีน้อยท่าให้การเกาะยึดตัวของเม็ดดินไม่ดี และเกิดการชะล้างพังทลายได้ง่ายพบ
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38