Page 194 - ปุ๋ยอินทรีย์และการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย
P. 194

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        183


                  วัสดุอวบน้่าให้เป็นน้่าหมักในระยะเวลาที่น้อยลง ได้แก่ “สารเร่งซุปเปอร์ พด.2”    นอกจากนี้

                  ระยะเวลาการหมักเศษวัสดุลักษณะสดในการผลิตน้่าหมักขึ้นอยู่กับปัจจัยของสภาพแวดล้อมและปัจจัยของ
                  วัสดุ  ดังนั้นปัจจัยที่บ่งบอกถึงประสิทธิภาพการย่อยสลายวัสดุลักษณะสดในการผลิตน้่าหมักให้สมบูรณ์ใน

                  ระยะเวลามากหรือน้อย  ขึ้นอยู่กับ 1) ชนิดและองค์ประกอบของวัสดุ  2) ความอวบน้่าของวัสดุ  3) แหล่ง

                  อาหารและคาร์บอนของจุลินทรีย์  4) การระบายอากาศ   5) ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง  6) อุณหภูมิ และ 7)
                  ความชื้น

                         ขั้นตอนการผลิตน้่าหมัก 50 ลิตร ประกอบด้วย ชนิดของวัสดุที่มีลักษณะสด 40 กิโลกรัม
                  กากน้่าตาล 10 กิโลกรัม  และจุลินทรีย์ (สารเร่งซุปเปอร์ พด.2) 1 ซอง  มีขั้นตอนดังนี้ 1) เทกากน้่าตาล 10

                  กิโลกรัม ลงในถังหมักขนาด 100 ลิตร ใส่น้่าจ่านวน 5 ลิตร และคนให้เข้ากัน  2) เทสารเร่งซุปเปอร์ พด.2 ใน
                  น้่า 5 ลิตร และใส่ถัง คนประมาณ 5 นาที  3) หั่นหรือสับวัสดุพืชหรือสัตว์ให้เป็นชิ้นเล็กๆ  และใส่ลงในถังหมัก

                  ขนาดที่เหมาะสมกับวัสดุ  พร้อมใส่สารเร่ง พด. ที่เตรียมไว้และปรับปริมาตรน้่าให้พอเหมาะหรือท่วมวัสดุหมัก

                  ห่างปากถังหมักประมาณ 10 –  15 เซนติเมตร  4) คนส่วนประกอบต่างๆ ให้เข้ากันอีกครั้งแล้วปิดฝาไม่ต้อง
                  สนิท  เก็บได้ในที่ร่มที่มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก  5) ในระหว่างการหมักคนหรือกวน 1 – 2 ครั้งต่อวัน  ลักษณะ

                  น้่าหมักที่เสร็จสมบูรณ์แล้วมีดังนี้ 1) การเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ลดลง  2) กลิ่นแอลกอฮอร์ลดลง  3) กลิ่นเปรี้ยว

                  เพิ่มขึ้น  4) ไม่พบฟองก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์  5) ได้ของเหลวสีน้่าตาล  6) มีสภาพความเป็นกรดเป็นระดับ 3 –
                  4  ในกรณีเชื้อจุลินทรีย์สารเร่งไม่มี  สามารถน่าน้่าหมักที่หมัก 5 – 7 วัน จ่านวน 2 ลิตร แทนสารเร่งซุปเปอร์

                  พด.2 จ่านวน 1 ซอง  แต่ท่าติดต่อกันเพียง 3 ครั้ง  เพื่อป้องกันการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์
                         น้่าหมักมีปริมาณธาตุอาหารน้อยมากแต่มีสารส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช  ดังนั้นการใช้ประโยชน์

                  ของน้่าหมักกับพืชจึงควรใช้ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ชนิดอื่นๆ  เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดกับพืชที่ปลูก
                  วิธีการใช้ต้องน่าน้่าหมักไปเจือจางกับน้่าก่อนในอัตรา 1 : 500 หรือ 1 : 1,000 ส่วน  แล้วจึงน่าไปฉีดพ่นหรือ

                  รดลงดินกับพืชที่ปลูก  ส่วนเร่งการงอกของเมล็ดพืช  ใช้น้่าหมักอัตรา 20 มิลลิลิตร ผสมน้่า 20 ลิตร  แช่เมล็ด
                  ข้าว 20 กิโลกรัม หรือใช้น้่าหมักอัตรา 40 มิลลิลิตร ผสมน้่า 20 ลิตร  แช่ท่อนพันธุ์อ้อยและมันส่าปะหลัง

                         การใช้น้่าหมักตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงต้องยึดหลัก 3 ประการที่ต้องยึดถือ คือ มีความพอเพียง

                  มีเหตุผลและมีภูมิคุ้มกัน  พร้อมดัวย “ความรู้คู่คุณธรรม” ในการด่าเนินงานของตนเอง

                        8. เปรียบเทียบข้อดีและข้อเสียของปุ๋ยอินทรีย์แต่ละชนิด ดังนี้

                               6.1 น้่าหมัก มีข้อดี ได้แก่ มีการผลิตและการน่าไปใช้สะดวกและไม่ค่อยยุ่งยากซับซ้อนกว่าปุ๋ย
                  อินทรีย์  แต่ข้อเสียมีปริมาณธาตุอาหารน้อยกว่าปุ๋ยอินทรีย์ชนิดอื่นๆ  และไม่สามารถเพิ่มอินทรียวัตถุให้แก่

                  ดิน

                           6.2 ปุ๋ยพืชสด  มีข้อดีกว่าปุ๋ยคอกและปุ๋ยหมัก ได้แก่ ใช้ปริมาณน้อย ขนย้ายสะดวก หาง่าย ราคา
                  ถูก และใช้ในพื้นที่มากๆ ได้  แต่ข้อเสีย ได้แก่ ต้องปลูกพืชปุ๋ยสดก่อนและไถกลบท่าให้เสียเวลาและแรงงานใน

                  การเพาะปลูก  นอกจากนี้การเจริญเติบโตของพืชปุ๋ยสดขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมและพื้นที่ปลูก  ท่าให้มีผลต่อ
                  น้่าหนักและปริมาณธาตุอาหารของพืชปุ๋ยสด
   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198   199