Page 197 - ปุ๋ยอินทรีย์และการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย
P. 197

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        186


                  จะช่วยในการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพ เคมี และชีวภาพของดินให้เหมาะสมกับการปลูกพืช  ส่วนปุ๋ยเคมี

                  จะเป็นแหล่งให้ธาตุอาหารของพืชในส่วนที่ไม่เพียงพอ
                  ข้อเสนอแนะ

                         1. การใช้ปุ๋ยอินทรีย์  โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุในดินให้สูงขึ้นในระดับที่ต้องการ  ควร

                  ใช้ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก  เพราะสามารถก่าหนดอัตราการใส่ได้ถูกต้อง  ดังที่กล่าวมาแล้วในบทที่ 3 ในหัวข้อ
                  หลักการเพิ่มอินทรียวัตถุในดิน  และถ้าปริมาณอินทรียวัตถุในดินให้อยู่ระดับ 2.5 – 3.0 เปอร์เซ็นต์ จะมีความ

                  เหมาะสมอย่างยิ่ง  แต่ปริมาณอินทรียวัตถุในดินจะมีการสลายไป  ดังนั้นจึงมีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ทุกปีเพื่อชดเชย

                  ส่วนที่สลายไป  และถ้าสามารถรักษาปริมาณอินทรียวัตถุในดินระดับนี้ไว้อย่างต่อเนื่อง  แสดงว่าได้มีการ
                  ปรับปรุงดินจนมีศักยภาพสูงในการปลดปล่อยธาตุอาหารต่างๆ อย่างเพียงพอกับพืชรากตื้นส่วนมาก  และ

                  สามารถเข้าสู่ระบบเกษตรอินทรีย์ได้
                         2. การใช้ปุ๋ยอินทรีย์  โดยมีวัตถุประสงค์เป็นแหล่งธาตุอาหารของพืช  ต้องทราบความต้องการธาตุ

                  อาหารของพืชที่ปลูก  ควรท่าการวิเคราะห์ระดับธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ในดินและปริมาณธาตุอาหารใน

                  ปุ๋ยอินทรีย์แต่ละชนิดโดยที่ปริมาณธาตุอาหารของปุ๋ยคอกจะขึ้นอยู่กับ ชนิดของสัตว์  ขนาดของสัตว์  สภาพ
                  ของการเลี้ยง  ปุ๋ยหมักจะขึ้นอยู่กับชนิดของวัสดุดิบที่น่ามาท่าปุ๋ยหมัก  ส่วนปุ๋ยพืชสดจะขึ้นอยู่กับชนิดของพืช

                  ปุ๋ยสดและสภาพดินที่ปลูก ดังนั้น การใช้ปุ๋ยหมักและปุ๋ยคอกจ่าเป็นต้องวิเคราะห์ธาตุอาหารก่อน  จึงสามารถ
                  ก่าหนดอัตราการใส่ที่เหมาะสมกับความต้องการธาตุอาหารของพืชได้แต่ส่วนมากต้องใช้ในปริมาณที่มาก  ซึ่ง

                  ในด้านการปฏิบัติของเกษตรกรเป็นได้ยาก  ส่วนปุ๋ยพืชสดต้องวิเคราะห์ธาตุอาหารและน้่าหนักของต้นที่สับ

                  กลบ  ด้วยเหตุผลดังกล่าว  จึงควรมีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยเคมี  เพื่อน่าผลที่ได้มาวิเคราะห์ความเชื่อมั่น
                  ว่าธาตุอาหารเพียงพอกับพืชที่ปลูกอย่างแท้จริง  โดยอาจมีการใช้น้่าหมักช่วยในการส่งเสริมการเจริญเติบโต

                  ของพืช  เพราะมีธาตุอาหารพืชน้อยมากแต่มีกรดอินทรีย์และฮอร์โมนที่พืชต้องการ   ท่าให้การใช้ปุ๋ยแบบ
                  ผสมผสานปรับปรุงบ่ารุงดินในระบบเกษตรอย่างยั่งยืน  เพราะปุ๋ยอินทรีย์ท่าให้สมบัติทางเคมี กายภาพ และ

                  ชีวภาพของดินมีความเหมาะสมต่อการปลูกพืช  ส่วนปุ๋ยเคมีเป็นแหล่งให้ธาตุอาหารเพิ่มแก่พืชในกรณีที่พืช

                  ขาดธาตุอาหาร
                         3. การใช้ปุ๋ยอินทรียวัตถุในสภาพพื้นที่ของเกษตรกร  ควรพิจารณาวิธีการที่เหมาะสมและเป็นไปได้

                  ซึ่งอาจจะเป็นวิธีการที่เกษตรกรใช้อยู่แล้วหรือการปรับปรุงวิธีการของเกษตรกรให้เหมาะสมมากยิ่งขึ้น เช่น
                  แหล่งวัตถุดิบของปุ๋ยอินทรีย์แต่ละชนิดที่ควรอยู่ใกล้บริเวณพื้นที่ของเกษตรกร  ส่งเสริมความรู้ใหม่ในการผลิต

                  ปุ๋ยอินทรีย์ให้มีธาตุอาหารเพิ่มขึ้น  การรวมกลุ่มของเกษตรกรเพื่อช่วยกันผลิตปุ๋ยอินทรีย์  และควรแนะน่า

                  ความรู้ให้เกษตรกรใช้ปุ๋ยอินทรีย์แต่ละชนิดผสมผสานกัน  เพื่อลดการใช้ปุ๋ยเคมีลง
                         4. พื้นที่ท่าการเกษตรมากๆ เช่น การท่านา หรือการท่าไร่  ถ้าต้องการปรับปรุงบ่ารุงดินควรใช้ปุ๋ยพืช

                  สด  แต่ถ้าพื้นที่ไม่มาก เช่น สวนผลไม้  ปาล์ม  ผัก  หรือการท่าสวนไม้ดอก  ควรใช้ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก
                  เพราะ มีปริมาณการใช้ที่น้อยและพืชสามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ  เพราะมีการใช้เป็นหลุม

                  หรือเป็นแถว
                         5. ควรให้ความรู้เกี่ยวกับปุ๋ยอินทรีย์ชนิดต่างๆ ให้กับเกษตรกร  หมอดินอาสา  เจ้าหน้าที่ของรัฐ

                  ตลอดจนนักเรียนตามชนบทได้มีความรู้และความเข้าใจ  โดยการสาธิตวิธีต่างๆ จนเข้าใจและสามารถน่าไป
   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202