Page 27 - รายงานการสำรวจและจำแนกดินเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 : กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 27

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          17


               เบ็ดเตล็ดที่มีเนื้อที่มากจะเขียนน าหน้าและเรียงกันไปตามล าดับ โดยมีเครื่องหมาย “-” คั่น และต้องแสดงสัดส่วน
               ของดินหรือที่ดินอื่นๆ ที่พบในขอบเขตนั้นๆ ด้วย เช่น Li-Ws 70-30

                        4) หน่วยศักย์เสมอ (undifferentiated groups) เป็นหน่วยแผนที่ที่ภายในขอบเขตนั้นๆ มีดินตั้งแต่
               2 ชนิดขึ้นไป แต่ดินทั้งหมดนั้นไม่มีความแตกต่างในด้านของการน าไปใช้ประโยชน์และการจัดการดิน จึงไม่มีความ
               จ าเป็นที่จะต้องแยกขอบเขตออกจากกัน การให้ชื่อหน่วยแผนที่ดินจะใช้ชื่อของดินทั้งหมด โดยดินที่มีเนื้อที่มากจะ
               เขียนน าหน้าและเรียงกันไปตามล าดับ โดยมีเครื่องหมาย “&” คั่น และต้องแสดงสัดส่วนของดินหรือที่ดินอื่นๆ

               ที่พบในขอบเขตนั้นๆ ด้วย เช่น Li&Ml 70&30



                     การเขียนหน่วยแผนที่ดิน (soil map units) หมายถึง หน่วยหรือชื่อที่แสดงถึงลักษณะและสมบัติของ
               ขอบเขตที่แสดงในแผนที่
                        1) การเขียนหน่วยแผนที่ดิน จะเขียนด้วยสัญลักษณ์แทน ดังนี้

                           ชื่อชุดดิน   -         เนื้อดินบน - ความลาดชัน
                               ความลึกของดินถึงชั้นขัดขวงหรือชั้นหิน, การกร่อนดิน

                           ตัวอย่างหน่วยแผนที่ดิน เช่น   Ws - clC    หรือ  Ws - clC/d3,E1
                                                                              d3,E1


                           อธิบายได้ คือ ชุดดินวังสะพุง มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนดินเหนียว ความลาดชัน 5-12 เปอร์เซ็นต์
               ลึกปานกลางถึงชั้นหินพื้น กร่อนเล็กน้อย

                           อย่างไรก็ตามประเภทดินอื่นๆ ก็สามารถน ามาเขียนได้ หากเห็นว่ามีผลต่อการใช้ประโยชน์ที่ดินและ
               การจัดการดิน แต่ไม่ใช้มากเกินไปและมีความหมายไม่ซับซ้อน

                  3.6 การจ าแนกความเหมาะสมของดินส าหรับพืชเศรษฐกิจ

                     เป็นการจัดหมวดหมู่โดยอาศัยข้อมูลดินที่เกี่ยวข้องกับสมบัติทางกายภาพ ทางเคมีดิน และสภาพแวดล้อม
               บางประการที่ได้จากส ารวจดิน จ าแนกดินและตรวจสอบดินในสนามและในห้องปฏิบัติการ ทั้งนี้การจ าแนกความ
               เหมาะสมของดินส าหรับพืชเศรษฐกิจ ขึ้นอยู่กับข้อจ ากัดหรือความรุนแรงที่มีผลมากสุดต่อพืชที่เกี่ยวข้องกับ
               ลักษณะและสมบัติดิน ตลอดจนสภาพแวดล้อมบางประการ เป็นตัวก าหนดระดับชั้นความเหมาะสมของดินนั้นๆ

               ว่าจะอยู่ในชั้นความเหมาะสมใด (กองส ารวจและจ าแนกดิน, 2543)

                     3.6.1 ชั นการจ าแนกความเหมาะสมของดินส าหรับพืชเศรษฐกิจ แบ่งชั้นความเหมาะสมเป็น 5 ชั้น (class)
               ดังนี้

                        ชั้นความเหมาะสมที่ 1 เป็นชั้นที่มีความเหมาะสมดีมาก (very well suited)
                        ชั้นความเหมาะสมที่ 2 เป็นชั้นที่มีความเหมาะสมดี (well suited)
                        ชั้นความเหมาะสมที่ 3 เป็นชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง (moderately suited)

                        ชั้นความเหมาะสมที่ 4 เป็นชั้นที่ไม่ค่อยเหมาะสม (poorly suited)
                        ชั้นความเหมาะสมที่ 5 เป็นชั้นที่ไม่เหมาะสม (unsuited)
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32