Page 29 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองพระเพลิงน้อยลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง (รหัส 1502) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปราจีนบุรี (รหัส 15) พื้นที่ดำเนินการ บ้านท่าผักชี หมู่ 6 และบ้านหนองปักหลัก หมู่ 11 ตำบลพระเพลิง อำเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว
P. 29

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          18


                                      1  หมายถึง  เหมาะสมดี (good)
                                      2  หมายถึง  เหมาะสมปานกลาง (fair)

                                      3  หมายถึง  ไมํเหมาะสม (poor)
                                   ระดับความเหมาะสมแตํละระดับ มีความหมายดังนี้
                                      เหมาะสมดี (good)  คือ ดินที่ไมํมีหรือมีข๎อจ้ากัดเล็กน๎อย คุณสมบัติตําง ๆ เหมาะสม
                     ตามที่ก้าหนดไว๎ จะมีข๎อจ้ากัดบ๎างก็เล็กน๎อยและสามารถแก๎ไขได๎งําย การดูแลรักษาและการปรับปรุงบ้ารุง

                     ดินท้าได๎งํายและเสียคําใช๎จํายน๎อย
                                      เหมาะสมปานกลาง (fair) คือ ดินที่มีคุณสมบัติเหมาะสมปานกลาง ข๎อจ้ากัดในการใช๎
                     อาจจะมีบ๎างซึ่งต๎องแก๎ไขโดยการวางแผนและออกแบบให๎เข๎ากับสภาพและลักษณะของดิน อาจจะต๎องมี

                     การบ้ารุงรักษาเป็นพิเศษ แผนงานการกํอสร๎างอาจจะต๎องแก๎ไขดัดแปลงบ๎างจากแผนเดิมที่ใช๎กับดินที่มี
                     ข๎อจ้ากัดเพียงเล็กน๎อย การกํอสร๎างฐานรากหรือตอหม๎อควรเสริมให๎มั่นคงเป็นพิเศษ
                                      ไมํเหมาะสม (poor)  คือ ดินที่มีคุณสมบัติที่ไมํเหมาะสมเพียงอยํางเดียวหรือมากกวํา
                     และข๎อ จ้ากัดนั้น ๆ มีความยุํงยากในการดัดแปลงแก๎ไขและต๎องเสียคําใช๎จํายสูง จ้าเป็นต๎องมีการปรับปรุง
                     และฟื้นฟูดินเป็นหลัก นอกจากนั้นต๎องมีการออกแบบเป็นพิเศษตลอดจนมีการบ้ารุงรักษาดินอยํางสม่้าเสมอ

                     ยิ่งขึ้น
                                      ไมํเหมาะสมอยํางยิ่ง (very  poor)  คือ ในการใช๎ประโยชน์ของดินทางวิศวกรรม
                     บางอยํางจะเป็นการเพิ่มความเสียหาย จึงเป็นเหตุให๎ต๎องจัดระดับของดินไว๎ในระดับไมํเหมาะสมอยํางยิ่ง

                     ระดับนี้ดินมีคุณสมบัติไมํเหมาะสมเพียงประการเดียวหรือมากกวําส้าหรับการใช๎ประโยชน์ในกิจกรรมเฉพาะ
                     อยําง ซึ่งจะแก๎ไขข๎อจ้ากัดได๎ยากที่สุดและเสียคําใช๎จํายสูง การปรับปรุงฟื้นฟูดินเป็นสิ่งจ้าเป็น เชํน การขุด
                     เอาดินออกและน้าดินอื่นมาถมแทน เป็นการแก๎ไขดัดแปลงที่สมบูรณ์แบบที่สุด ระดับนี้ควรใช๎กับชนิดของ
                     ดินที่ต๎องมีการเปลี่ยนแปลงมากในการที่จะน้ามาใช๎ประโยชน์ ซึ่งสํวนใหญํดินเหลํานี้จะไมํได๎น้ามาประเมิน
                     คําการใช๎


                     4. ผู้ด้าเนินงาน
                            นางจันทร์จิรา  ศิริสุวรรณ์

                     5. ระยะเวลาด้าเนินงาน
                            เดือนธันวาคม พ.ศ. 2556 ถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2557

                     6. อุปกรณ์และวิธีการ
                             6.1 อุปกรณ์

                                อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช๎ในการด้าเนินงาน ประกอบด๎วย
                                1. ข๎อมูลแผนที่ ได๎แกํ
                                   - แผนที่ภาพถํายออร์โธสีเชิงเลข (ortho photos) มาตราสํวน 1:4,000

                                   - แผนที่ภูมิประเทศ (topographic map) มาตราสํวน 1:50,000 ระวางที่ 5335 I , 5335
                     II , 5336 I , 5336 II ,  5435 I , 5435 II , 5435 III , 5435 IV , 5436 I , 5436 II , 5436 III , 5436 IV
                     (กรมแผนที่ทหาร, 2542)
                                   - แผนที่ธรณีวิทยา (geologic map) มาตราสํวน 1:250,000 ระวาง ND 47-12 และ ND
                     48-9 (กรมทรัพยากรธรณี, 2527)
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34