Page 25 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองพระเพลิงน้อยลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง (รหัส 1502) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปราจีนบุรี (รหัส 15) พื้นที่ดำเนินการ บ้านท่าผักชี หมู่ 6 และบ้านหนองปักหลัก หมู่ 11 ตำบลพระเพลิง อำเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          14


                                4. ประเภทของการกร่อน (phases of soil erosion)
                                   การกรํอนของดิน หมายถึง การแตกกระจาย (detachment) และการพัดพาไป

                     (transportation) ของดินโดยตัวการกรํอน เชํน โดยน้้า (water  erosion) หรือโดยลม (wind  erosion)
                     การกรํอนของดินแบํงออกเป็น 2 ชนิด ได๎แกํ
                                      1) การกรํอนโดยลม (wind erosion) คือ การท้าให๎อนุภาคดินเคลื่อนย๎ายจากจุดหนึ่ง
                     ไปสูํอีกจุดหนึ่งโดยการกระท้าของลม การกรํอนโดยลมขึ้นอยูํกับสภาพภูมิอากาศ เชํน อุณหภูมิ ความเร็ว

                     ของลม สภาพภูมิประเทศ สมบัติของดินและการใช๎ประโยชน์ที่ดิน พื้นที่บริเวณที่เกิดการกรํอนสํวนใหญํเกิด
                     ในพื้นที่แห๎งแล๎ง ลมแรง เนื้อดินเป็นทรายและไมํมีพืชขึ้นปกคลุม หรือบริเวณพื้นที่แนวแคบ ๆ ตามหาด
                     ทราย ชายทะเล

                                      2) การกรํอนโดยน้้า (water erosion) คือ การแตกกระจายและพัดพาโดยน้้า จะยาก
                     หรืองํายขึ้นอยูํกับวัตถุต๎นก้าเนิดดิน ระบบการใช๎ที่ดินและการจัดการดิน การกรํอนโดยน้้ามีหลายชนิด
                     ได๎แกํ การกรํอนแบบแผํน (sheet erosion) การกรํอนแบบริ้ว (rill erosion) การกรํอนแบบรํองธาร (gully
                     erosion) และการกรํอนแบบทํอ (tunnel erosion)
                                   ความรุนแรงของการกรํอนแบํงออกได๎เป็น 5 ชั้น ดังนี้


                             สัญลักษณ์                ค้าอธิบาย                 การสูญเสียของชั้นดิน
                                                                                   (เปอร์เซ็นต์) *

                                E        ไมํมีการกรํอน (non eroded)                      0
                                 0
                                E        กรํอนเล็กน๎อย (slightly eroded)             > 0 - 25
                                 1
                                E        กรํอนปานกลาง (moderately eroded)             25 - 75
                                 2
                                E        กรํอนรุนแรง (severe eroded)                   > 75
                                 3
                                E        กรํอนรุนแรงมาก (very severe                   100
                                 4
                                         eroded)

                     หมายเหตุ * หมายถึง ร๎อยละการสูญเสียของชั้นดิน A และ/หรือชั้นดิน E หรือการสูญเสียดินบน 20 เซนติเมตร
                                (ถ๎าชั้นดิน A และ/หรือชั้นดิน E ดั้งเดิมมีความหนาน๎อยกวํา 20 เซนติเมตร)


                                การเขียนหนํวยแผนที่ดิน
                                   สัญลักษณ์ :  ชุดดินหรือดินคล๎าย – เนื้อดินบน ความลาดชัน / ความลึกของดิน การกรํอน

                     (soil series or soil variants - surface texture, slope / depth, erosion)
                                   ตัวอยําง :  สัญลักษณ์หนํวยแผนที่ดิน =   Tw-clA/d ,E  : ชุดดินทับกวาง มีเนื้อดินบน
                                                                                 5 0
                     เป็นดินรํวนปนดินเหนียว ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ ลึกมาก ไมํมีการกรํอน  (Thap  Khwang–clay
                     loam, 0-2 percent slope / very deep, none eroded)


                     การจ้าแนกความเหมาะสมของดินส้าหรับพืชเศรษฐกิจ ใช๎วิธีประเมินตามคูํมือการจ้าแนกความเหมาะสม
                     ของดินส้าหรับพืชเศรษฐกิจของประเทศไทย (กองส้ารวจและจ้าแนกดิน, 2543) โดยมีรายละเอียดดังนี้

                                1. หลักเกณฑ์การจ้าแนกความเหมาะสมของดิน
                                   1)  ศึกษาลักษณะและสมบัติตําง ๆ ของดิน ตลอดจนสภาพแวดล๎อมบางประการที่ถือวํา
                     เป็นลักษณะถาวร (permanent  soil  characteristics)  หรือเป็นลักษณะที่ยากตํอการเปลี่ยนแปลงและ
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30