Page 28 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองพระเพลิงน้อยลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง (รหัส 1502) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปราจีนบุรี (รหัส 15) พื้นที่ดำเนินการ บ้านท่าผักชี หมู่ 6 และบ้านหนองปักหลัก หมู่ 11 ตำบลพระเพลิง อำเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว
P. 28

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          17


                                      k  :  ความซึมน้้าของดิน (permeability or hydraulic conductivity)
                                      l   :  ศักยภาพในการยืดและหดตัวของดิน (shrink-swell potential)

                                      m  :  ความลึกถึงชั้นที่มีการซาบซึมน้้า (depth to permeable material)
                                      o  :  การกัดกรํอนของทํอเหล็กที่ไมํเคลือบผิว (corrosivity uncoated steel)
                                      p  :  การมีก๎อนหิน  (stoniness)
                                      q  :  ความลึกถึงชั้นทรายหรือกรวด (depth to sand and gravel)

                                      r   :  การมีหินโผลํ (rockiness)
                                      s   :  เนื้อดิน (texture)
                                      t   :  สภาพภูมิประเทศหรือความลาดชัน (topography or slope)

                                      u  : การยึดตัวขณะดินชื้น (moist consistence)
                                      x  :  ความเค็มของดิน (salinity)
                                1. หลักเกณฑ์การวินิจฉัยคุณภาพของดินด้านปฐพีกลศาสตร์

                                   1) อาศัยการคาดคะเนจากสมบัติของดินภายใต๎สภาพการใช๎ประโยชน์ที่ดินและการจัดการ
                     ดินตามปกติ
                                   2) การวินิจฉัยสมบัติของดินจะไมํรวมกับปัญหาที่เกี่ยวกับท้าเล เชํน ที่ตั้งใกล๎เมืองหรือทาง
                     หลวง แหลํงน้้า ขนาดของที่ดินถือครอง

                                   3) การจัดระดับของที่ดินขึ้นอยูํกับลักษณะของดินตามธรรมชาติ
                                   4)  การจัดระดับความเหมาะสมของดินมักจะพิจารณาจากดินทั้งหมด ยกเว๎นบางกรณี
                     อาจจะจัดระดับจากข๎อจ้ากัดของดินแตํละชั้นดิน ความลึกของชั้นดินที่ใช๎จัดระดับจะอยูํประมาณ 1.50–
                     1.80 เมตร แตํดินบางชนิดการคาดคะเนที่มีเหตุผลอาจจะต๎องได๎จากวัสดุดินที่ลึกกวํานี้

                                   5)  การจัดระดับความเหมาะสมของดินวําไมํเหมาะสมหรือไมํเหมาะสมอยํางยิ่ง  มิได๎
                     หมายความวําท้าเลพื้นที่นั้นจะไมํสามารถเปลี่ยนแปลงโยกย๎ายหรือแก๎ไขข๎อจ้ากัดได๎ การใช๎ประโยชน์ที่ดินที่
                     ได๎จัดระดับไว๎วําไมํเหมาะสมหรือไมํเหมาะสมอยํางยิ่งขึ้นอยูํกับชนิดของข๎อจ้ากัดซึ่งจะสามารถแก๎ไขให๎

                     ส้าเร็จและคุ๎มกับการลงทุนหรือไมํ
                                   6)  การวินิจฉัยสมบัติของดิน เป็นสิ่งจ้าเป็นที่ใช๎ในการประเมินที่ดิน ความส้าคัญของการ
                     วินิจฉัยขึ้นอยูํกับการใช๎ประโยชน์ที่ดิน ชนิดของดินและปัญหาการใช๎ที่ดิน
                                2. ชั้นความเหมาะสมของดินทางด้านปฐพีกลศาสตร์
                                   การวินิจฉัยคุณภาพของดินด๎านปฐพีกลศาสตร์ ดินแตํละชุดดินจะมีความเหมาะสมในการ

                     ใช๎ประโยชน์ตํางกันขึ้นอยูํกับข๎อจ้ากัดของการใช๎ประโยชน์และคุณลักษณะของดินเป็นส้าคัญ
                                   1) ชั้นความเหมาะสมส้าหรับการใช๎เป็นแหลํงหน๎าดิน แหลํงทรายและกรวด ดินถมหรือดิน
                     คันทาง การใช๎เป็นเส๎นทางแนวถนนแบํงไว๎ 4 ระดับ โดยใช๎หมายเลขตําง ๆ แทนระดับความเหมาะสม ดังนี้

                                      1  หมายถึง  เหมาะสมดี (good)
                                      2  หมายถึง  เหมาะสมปานกลาง (fair)
                                      3  หมายถึง  ไมํเหมาะสม (poor)
                                      4  หมายถึง  ไมํเหมาะสมอยํางยิ่ง (very poor)

                                   2) ชั้นความเหมาะสมส้าหรับใช๎ท้าบํอขุด อํางเก็บน้้าขนาดเล็ก คันกั้นน้้า ระบบบํอเกรอะ
                     การสร๎างโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก อาคารต่้า ๆ และการใช๎ยานพาหนะในชํวงฤดูฝน ได๎จัดระดับความ
                     เหมาะสมไว๎ 3 ระดับ โดยใช๎หมายเลขตําง ๆ แทนระดับความเหมาะสม ดังนี้
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33