Page 32 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองพระเพลิงน้อยลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง (รหัส 1502) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปราจีนบุรี (รหัส 15) พื้นที่ดำเนินการ บ้านท่าผักชี หมู่ 6 และบ้านหนองปักหลัก หมู่ 11 ตำบลพระเพลิง อำเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว
P. 32

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          21


                     เส๎นทางน้้า การใช๎ที่ดิน ลักษณะภูมิประเทศ และความลาดชัน เพื่อให๎ทราบถึงสภาพพื้นที่และวิเคราะห์
                     พื้นที่เพื่ออนุมานลักษณะและสมบัติของดินในพื้นที่ศึกษา

                                         - เขียนขอบเขตดินเบื้องต๎นเพื่อก้าหนดจุดเจาะส้ารวจดินในแผนที่ ภาพถํายออร์โธสี
                     เชิงเลข มาตราสํวน 1:4,000  พร๎อมทั้งก้าหนดจุดเจาะส้ารวจเพิ่มเติมให๎ได๎ระยะหํางในพื้นที่จริงประมาณ
                     100-200 เมตรตํอหลุม
                                         - แปลสภาพการใช๎ที่ดิน เขียนขอบเขตสภาพการใช๎ที่ดินเบื้องต๎น

                                      (2) การปฏิบัติงานในภาคสนาม
                                         - การส้ารวจดินและการส้ารวจสภาพการใช๎ที่ดิน เป็นการส้ารวจแบบละเอียดโดยใช๎แผน
                     ที่ภาพถํายออร์โธสีเชิงเลข มาตราสํวน 1:4,000 และแผนที่ภูมิประเทศ มาตราสํวน 1:50,000 เป็นแผนที่พื้นฐานใน

                     การส้ารวจ แผนที่ที่ผลิตออกมามีมาตราสํวน 1:4,000 โดยมีวิธีการส้ารวจดังนี้
                                         -  เจาะส้ารวจดินตามจุดที่ก้าหนดไว๎ในแผนที่ภาพถํายออร์โธสีเชิงเลข หรือใน
                     บริเวณพื้นที่ที่มีความแตกตํางกันอยํางเห็นได๎ชัดเจน โดยใช๎สวํานเจาะดินลึก  200 เซนติเมตร หรือถึงชั้น
                     เชื่อมแข็งหรือแนวสัมผัสชั้นหินพื้น วางเรียงกันตามความลึก เพื่อตรวจศึกษาสมบัติทางเคมีและทาง
                     กายภาพของดินทุกจุดด๎วยเครื่องมือตรวจวัดภาคสนาม

                                         -  บันทึกสภาพแวดล๎อมบริเวณพื้นที่ศึกษา  ได๎แกํ  วัตถุต๎นก้าเนิดดิน ภูมิสัณฐาน
                     ความลาดชัน การกรํอนของหน๎าดิน การระบายน้้าของดิน ความสามารถให๎น้้าซึมผํานของดิน ระดับน้้าใต๎
                     ดิน สภาพน้้าทํวมขัง พืชพรรณและการใช๎ประโยชน์ที่ดิน

                                         - ศึกษาลักษณะสมบัติดินเพื่อใช๎ในการจ้าแนกดิน เชํน ความหนาของชั้นดิน เนื้อ
                     ดิน สีดิน โครงสร๎างของดิน การยึดตัวของอนุภาคดิน การเคลื่อนย๎ายของอนุภาคดินเหนียว ปริมาณการ
                     กระจายของรากพืช คําปฏิกิริยาดิน การจัดเรียงตัวของชั้นดิน ชนิดของชิ้นสํวนหยาบในดิน หรือวัตถุตํางๆ
                     ที่พบในชั้นดิน เชํน ก๎อนกรวด ลูกรังและเศษหิน เป็นต๎น

                                         - จ้าแนกดินตามระบบอนุกรมวิธานดิน (Soil Survey Staff, 2014) ในระดับประเภท
                     ของชุดดินและดินคล๎าย (phases of soil series or soil variants) เขียนหนํวยแผนที่ดินลงในภาพถํายออร์โธ
                     สีพร๎อมทั้งปรับแก๎ไขขอบเขตของดินในภาพถํายออร์โธสีเชิงเลขให๎สอดคล๎องกับสภาพพื้นที่จริงในสนาม
                                         -  ศึกษาสภาพการใช๎ที่ดิน  เขียนหนํวยแผนที่สภาพการใช๎ที่ดิน พร๎อมทั้งปรับแก๎ไข

                     ขอบเขตลงในภาพถํายออร์โธสีเชิงเลขให๎สอดคล๎องกับสภาพพื้นที่จริงในสนาม
                                         -  บันทึกลักษณะดิน สภาพพื้นที่ และเก็บตัวอยํางดินบริเวณที่เป็นตัวแทนของ
                     หนํวยแผนที่ดิน ส้าหรับน้าไปวิเคราะห์หาสมบัติทางเคมี เพื่อประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดิน
                                         - จัดท้าแผนที่ดินและแผนที่สภาพการใช๎ที่ดิน ฉบับต๎นรําง

                                      (3) การจัดท้าแผนที่ดิน แผนที่สภาพการใช้ที่ดินและรายงานการส้ารวจดิน
                                         - จัดท้าแผนที่ดินและแผนที่สภาพการใช๎ที่ดิน ต๎นฉบับและสรุปหนํวยแผนที่ทั้งหมด
                     ในพื้นที่ด้าเนินการ

                                         - วิเคราะห์ข๎อมูลดิน  สภาพการใช๎ที่ดินและสภาพแวดล๎อมในพื้นที่ด้าเนินการเพื่อ
                     ประเมินความเหมาะสมของดินส้าหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ และประเมินความเหมาะสมของดินส้าหรับงาน
                     ทางด๎านปฐพีกลศาสตร์
                                         - รวบรวมข๎อมูลทั่วไปของพื้นที่ด้าเนินการ  เชํน  ที่ตั้งและอาณาเขต  สภาพ
                     ภูมิอากาศ สภาพภูมิประเทศและแหลํงน้้า เป็นต๎น เพื่อใช๎ประกอบในการเขียนรายงานการส้ารวจดิน

                                         - เขียนรายงานการส้ารวจดิน
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37