Page 27 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองพระเพลิงน้อยลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง (รหัส 1502) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปราจีนบุรี (รหัส 15) พื้นที่ดำเนินการ บ้านท่าผักชี หมู่ 6 และบ้านหนองปักหลัก หมู่ 11 ตำบลพระเพลิง อำเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว
P. 27

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          16


                                   7) ดินที่จ้าแนกวํามีความเหมาะสมส้าหรับการปลูกข๎าว อาจมีความเหมาะสมส้าหรับปลูก
                     พืชไรํหรือไม๎ผลบางชนิดได๎ ถ๎ามีการเลือกระยะเวลาปลูกที่เหมาะสม ในท้านองเดียวกันดินที่ไมํเหมาะสม

                     ส้าหรับการปลูกพืชไรํหรือไม๎ผลแตํก็อาจมีความเหมาะสมส้าหรับการท้าทุํงหญ๎าเลี้ยงสัตว์หรือสร๎างสวนป่า
                     ได๎ เป็นต๎น
                                   8) สภาพภูมิอากาศและชั้นความสูงมิได๎น้ามาเป็นข๎อพิจารณาในการจ้าแนกความ
                     เหมาะสมของดินส้าหรับการปลุกพืชชนิดตํางๆโดยตรง แตํผู๎จ้าแนกความเหมาะสมของดินควรจะน้าสภาพ

                     ภูมิอากาศมาพิจารณาเป็นอันดับแรก เพื่อแนะน้าหรือเลือกชนิดของพืชที่จะน้ามาปลูกวําจะสามารถปลูกได๎
                     หรือไมํ โดยค้านึงถึงเขตความชื้นของดินที่ได๎จากระบบการจ้าแนกดินหรือความสูงจากระดับน้้าทะเล
                                   9) สภาพทางเศรษฐกิจและสังคมตลอดจนลักษณะของการคมนาคม มิได๎น้ามาใช๎เป็น

                     บรรทัดฐานในการจ้าแนกความเหมาะสมของดิน
                                2. ชั้นความเหมาะสมของดินส้าหรับพืชเศรษฐกิจ แบํงออกเป็น 5 ชั้น ได๎แกํ

                                   ชั้นความเหมาะสมที่ 1 : เหมาะสมดีมาก
                                   ชั้นความเหมาะสมที่ 2 : เหมาะสมดี

                                   ชั้นความเหมาะสมที่ 3 : เหมาะสมปานกลาง

                                   ชั้นความเหมาะสมที่ 4 : ไมํคํอยเหมาะสม
                                   ชั้นความเหมาะสมที่ 5 : ไมํเหมาะสม

                                หมายเหตุ : การจ้าแนกความเหมาะสมของดินในระดับกลุํมชุดดินแบํงเป็น 3 ชั้น ดังนี้
                                   ชั้นที่ 1 เหมาะสม โดยไมํมีข๎อจ้ากัด (ชั้นความเหมาะสมที่ 1 เดิม)
                                   ชั้นที่ 1 เหมาะสม มีข๎อจ้ากัด (ชั้นความเหมาะสมที่ 2 และ 3 เดิม)
                                   ชั้นที่ 2 ไมํคํอยเหมาะสม (ชั้นความเหมาะสมที่ 4 เดิม)
                                   ชั้นที่ 3 ไมํเหมาะสม (ชั้นความเหมาะสมที่ 5 เดิม)


                             การจ้าแนกความเหมาะสมของดินส้าหรับทางด้านปฐพีกลศาสตร์ เป็นการวินิจฉัยเพื่อหาระดับ

                     ความเหมาะสมของดินทางด๎านปฐพีกลศาสตร์ ตามวิธีการวินิจฉัยคุณภาพของดินด๎านปฐพีกลศาสตร์ตาม
                     กลุํมชุดดินในประเทศไทย (สุวณี, 2538) ซึ่งเป็นการประเมินความเหมาะสมของชุดดินตามสมบัติของดิน
                     เพื่อการใช๎งานด๎านปฐพีกลศาสตร์ประเภทตําง ๆ  โดยชนิดของข๎อจ้ากัดของดินที่ท้าให๎ดินนั้นไมํเหมาะสม
                     อยํางยิ่ง ไมํเหมาะสม เหมาะสมปานกลาง หรือเหมาะสมดีส้าหรับงานทางด๎านปฐพีกลศาสตร์เขียนเป็น

                     สัญลักษณ์ภาษาอังกฤษก้ากับท๎ายตัวเลข ประกอบด๎วย
                                      a  : ลักษณะของดินตามการจ้าแนก (subgrade properties)
                                      b  :  ความหนาของวัสดุที่เหมาะสม (thickness of suitable material)
                                      c  :  ความลึกถึงชั้นหินพื้น (depth to bedrock)

                                      d  :  การระบายน้้าของดิน (drainage)
                                      f   :  อันตรายจากน้้าทํวมหรือน้้าแชํขัง (flood hazard)
                                      g  :  ปริมาณเศษหิน ที่มีขนาดใหญํกวําทรายหยาบมาก (fragment coarser than

                                           very  coarse sand percent)
                                      h  :  ระดับน้้าใต๎ดินในฤดูฝน (depth to seasonal water table)
                                      j   :  ปฏิกิริยาของดิน (reaction)
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32