Page 26 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองพระเพลิงน้อยลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง (รหัส 1502) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปราจีนบุรี (รหัส 15) พื้นที่ดำเนินการ บ้านท่าผักชี หมู่ 6 และบ้านหนองปักหลัก หมู่ 11 ตำบลพระเพลิง อำเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว
P. 26

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          15


                     สามารถตรวจสอบได๎ มาพิจารณาแบํงดินออกเป็นหมวดหมูํตามข๎อจ้ากัดที่มีผลตํอการเจริญเติบโตและมี
                     ผลกระทบตํอผลผลิตของพืชแตํละประเภทที่น้ามาปลูก ลักษณะตํางๆเหลํานี้ได๎แกํ

                                      t   :  สภาพพื้นที่ (topography)
                                      s   : เนื้อดิน (texture) หรือชั้นอนุภาคดิน (particle size class)
                                      b  :  ชั้นชะล๎างอยํางรุนแรง (albic horizon)
                                      c  :  ความลึกที่พบชั้นดานแข็ง (depth to consolidated layer)

                                      g  :  ความลึกที่พบก๎อนกรวด (depth to gravelly layer)
                                      r   :  หินพื้นโผลํ (rockiness)
                                      z  :  ก๎อนหินโผลํ (stoniness)

                                      x  :  ความเค็มของดิน (salinity)
                                      d  :  การระบายน้้าของดิน (drainage)
                                      f   :  อันตรายจากการถูกน้้าทํวม (flooding hazard)
                                      w  :  น้้าแชํขัง (water logging)
                                      m  :  ความเสี่ยงตํอการขาดแคลนน้้า (risk of moisture shortage)

                                      n  :  ความอุดมสมบูรณ์ของดิน (nutrient status)
                                      a  :  ความเป็นกรดของดิน (acidity)
                                      k  :  ความเป็นดํางของดิน (alkalinity)

                                      j   :  ความลึกที่พบชั้นดินกรดก้ามะถัน (depth to acid sulfate layer)
                                      e  :  การกรํอนของดิน (erosion)
                                      o  :  ความหนาของชั้นวัสดุดินอินทรีย์ (thickness of organic soil material)


                                   2) การจ้าแนกความเหมาะสมของดิน จะจ้าแนกตามความรุนแรงของข๎อจ้ากัดหรืออัตรา
                     เสี่ยงตํอความเสียหายถ๎าน้ามาใช๎ปลูกพืชตามที่ได๎ระบุไว๎ ดังนั้น ในแตํชั้นความเหมาะสมของดินจะประกอบ

                     ไปด๎วยกลุํมชุดดิน (groups of soil series) ชุดดิน (soil series) หรือประเภทของชุดดิน (phase of soil
                     series)  ชนิดตํางๆ ที่มีข๎อจ้ากัดตํอการปลูกพืชรุนแรงใกล๎เคียงกัน แตํมีได๎หมายความวําแตํละชุดดินจะ
                     ต๎องการการปฏิบัติดูแลรักษาที่เหมือนไป ทั้งนี้ขึ้นอยูํกับลักษณะและคุณสมบัติตํางๆของดินด๎วย
                                   3) การจ้าแนกชั้นความเหมาะสมของดิน มิใชํเป็นการระบุถึงอัตราการให๎ผลผลิตของพืชแตํ
                     ละชนิด ทั้งนี้เพราะยังมีปัจจัยอื่นๆที่เกี่ยวข๎อง เชํน ลักษณะการจัดการ พันธุ์พืช โรค แมลง ฝนและสภาพ

                     ภูมิอากาศ เป็นต๎น
                                   4) การจ้าแนกความเหมาะสมของดิน พิจารณาโดยถือหลักวํา พืชที่ปลูกตามปกติต๎องปลูก
                     ในฤดูฝน ดังนั้น ลักษณะหรือสภาพของดินในชํวงฤดูฝนจะถูกน้ามาใช๎ในการพิจารณาเป็นหลัก

                                   5) ดินแตํละชนิดไมํจ้าเป็นต๎องอยูํในชั้นความเหมาะสมเดิมตลอด อาจมีการเปลี่ยนแปลง
                     ได๎ถ๎ามีการปรับปรุงแก๎ไขดินนั้นเป็นการถาวร เชํน การท้าคันดินเพื่อป้องกันการกรํอนของดิน การป้องกัน
                     น้้าทํวมโดยการสร๎างเขื่อนหรือฝาย หรือการยกรํองเพื่อแก๎ไขเรื่องการระบายน้้าของดิน
                                   6) ข๎อจ้ากัดตํางๆ (limitations) ที่น้ามาใช๎พิจารณาจ้าแนกความเหมาะสมของดินส้าหรับ

                     การปลูกพืชแตํละชนิดอาจเปลี่ยนแปลงได๎เมื่อมีข๎อมูลเกี่ยวกับดินมากขึ้นหรือเมื่อวิทยาการและเทคนิค
                     ทางการเกษตรเปลี่ยนแปลงไป
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31