Page 34 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองพระเพลิงน้อยลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง (รหัส 1502) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปราจีนบุรี (รหัส 15) พื้นที่ดำเนินการ บ้านท่าผักชี หมู่ 6 และบ้านหนองปักหลัก หมู่ 11 ตำบลพระเพลิง อำเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว
P. 34

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          23


                     และปริมาณน้้าฝนที่วัดได๎ จังหวัดสระแก๎ว ฉะเชิงเทรา และปราจีนบุรี ในชํวง 10  ปี (พ.ศ. 2547-2556)
                     บริเวณพื้นที่ลุํมน้้าสาขาคลองพระสทึง (รหัส1502)   พบวํา มีปริมาณน้้าฝนเฉลี่ยเทํากับ 1,500.70

                     มิลลิเมตรตํอปี อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี 31.21 องศาเซลเซียส (ตารางที่ 2)
                     ตารางที่ 2 ปริมาณน้้าฝนและอุณหภูมิบริเวณพื้นที่ลุ่มน้้าสาขาคลองพระสทึง เฉลี่ย 10 ปี (พ.ศ. 2547-2556)


                                                                       ปี
                       ปริมาณน้้าฝน
                                   2547   2548   2549   2550   2551   2552   2553   2554   2555   2556    เฉลี่ย
                     ปริมาณน้้าฝนรวม   1,221.5   1,266.2   1,654.6   1,232.1   1,813.9   1,282.5   1,401.7   1,597.7   1,669.5   1,867.5   1,500.7

                       (มิลลิเมตร

                       อุณหภูมิเฉลี่ย   32.17   30.59   30.9   31.41   30.84   31.17   31.83   30.23   31.45   31.5   31.21
                      (องศาเซลเซียส)

                     ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (2556)


                                   7.1.3 สภาพภูมิประเทศ
                                      ลักษณะสภาพพื้นที่ของลุํมน้้าสาขาคลองพระสทึง (รหัส 1502) เป็นลุํมน้้าสาขาที่มีการ

                     วางตัวในแนวทางทิศใต๎ไปทางเหนือ ที่กั้นน้้าเกิดจากภูเขาสูงหรือเนินเขา แล๎วจึงลาดเทสูํพื้นที่รับน้้าด๎านลําง
                     ต๎นน้้ามีต๎นก้าเนิดจากเทือกเขาที่วางตัวในแนวเหนือ-ใต๎ ของลุํมน้้าสาขา บริเวณ 3  แหลํง ได๎แกํ บริเวณ
                     ทางด๎านตะวันตกเฉียงใต๎ และทิศใต๎ ได๎แกํ เขาทึงลึง เขาตะกวด และเขาตาพลาย บริเวณเทือกเขาสอยดาว
                     ในเขตจังหวัดจันทบุรี บริเวณทิศตะวันตก ได๎แกํ เขาอํางฤาไน เขาตะกรุบ จังหวัดฉะเชิงเทรา และบริเวณ

                     ทิศตะวันออกฉียงใต๎ ได๎แกํเขากกมะมํวง เขาตาง๏อก เขาเลื่อม และเขาจันทร์แดง  ทางน้้าไหลผํานเขตอ้าเภอ
                     สอยดาว อ้าเภอวังน้้าเย็น อ้าเภอคลองหาด อ้าเภอเขาฉกรรจ์ และเขตอ้าเภอเมืองสระแก๎ว จังหวัดสระแก๎ว
                     ไหลมาบรรจบกับคลองพระปรงที่บ๎านทําช๎าง สภาพพื้นที่ลาดเทจากขอบทางด๎านทิศใต๎ ทิศตะวันออก  ทิศ
                     ตะวันตก และทิศตะวันตกเฉียงใต๎  ไหลรวมกันบริเวณทางตอนกลางของพื้นที่ลุํมน้้าสาขา และลาดเทสูํพื้นที่

                     ปลายน้้าทางด๎านทิศเหนือ โดยมีคลองพระสะทึงพาดผํานจากทิศใต๎ไปทางทิศเหนือเป็นแกนกลาง โดยจึง
                     อาจกลําวโดยสรุปลักษณะภูมิประเทศของลุํมน้้าสาขาคลองพระสทึง แบํงออกได๎เป็น 3 ลักษณะ ดังนี้ (ภาพที่ 3,
                     4 และ 5)

                                      1) พื้นที่ต๎นน้้าที่มีความลาดชันสูง  จะเป็นภูเขาทางทิศตะวันตกเฉียงใต๎ และทิศใต๎ของลุํม
                     น้้าสาขาได๎แกํ เขาทึงลึง เขาตะกวด และเขาตาพลาย บริเวณเทือกเขาสอยดาว  ทางทิศตะวันตก ได๎แกํ เขา
                     อํางฤาไน เขาตะกรุบ และทางด๎านทิศตะวันออกเฉียงใต๎ได๎แกํ เขากกมะมํวง เขาตาง๏อก เขาเลื่อม และเขา
                     จันทร์แดง สํวนใหญํเป็นป่าจุดที่สูงที่สุดมีความสูงจากระดับทะเลปานกลางประมาณ 250-1,495 เมตร
                                      2) พื้นที่กลางน้้า สํวนใหญํเป็นพื้นที่เกษตรกรรม (พื้นที่ดอน) มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอน

                     ลาดเล็กน๎อยถึง เป็นลูกคลื่นลอนชัน ความลาดชันตั้งแตํ 2-20 เปอร์เซ็นต์ เป็นพื้นที่กลางน้้า อยูํบริเวณทาง
                     ตอนใต๎และตอนกลางของลุํมน้้า บริเวณนี้นับเป็นแหลํงรับน้้าที่ส้าคัญของลุํมน้้า มีความสูงจากระดับทะเลปาน
                     กลางประมาณ 100-249 เมตร

                                      3) พื้นที่ปลายน้้า สํวนใหญํเป็นพื้นที่รับน้้า พื้นที่ลุํม มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคํอนข๎าง
                     ราบเรียบ มีความลาดชันตั้งแตํ 0-2 เปอร์เซ็นต์ อยูํบริเวณตอนเหนือของลุํมน้้า  มีความสูงจากระดับทะเลปาน
                     กลางประมาณ 18-99 เมตร
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39