Page 24 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองพระเพลิงน้อยลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง (รหัส 1502) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปราจีนบุรี (รหัส 15) พื้นที่ดำเนินการ บ้านท่าผักชี หมู่ 6 และบ้านหนองปักหลัก หมู่ 11 ตำบลพระเพลิง อำเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว
P. 24

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          13



                                2. ประเภทของความลาดชัน (phases of slopes)
                                   ความลาดชันของพื้นที่ (slope) หมายถึง สภาพพื้นที่ที่เบี่ยงเบนหรือเอียงไปจากแนว
                     ระนาบ ซึ่งมีหนํวยวัดเป็นองศาหรือร๎อยละ แบํงออกได๎เป็น 8 ชั้น ดังนี้



                            สัญลักษณ์         ความลาดชัน                  ค้าอธิบาย
                                              (เปอร์เซ็นต์)

                                A                 0-2           ราบเรียบถึงคํอนข๎างราบเรียบ
                                                                (level to nearly level)

                                B                 2-5           ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อย
                                                                (slightly undulating or gently undulating)

                                C                5-12           ลูกคลื่นลอนลาด (undulating)

                                D                12-20          ลูกคลื่นลอนชัน (rolling)
                                E                20-35          เนินเขา (hilly)

                                F                35-50          สูงชัน (steep)
                                G                50-75          สูงชันมาก (very steep)

                                H                > 75           สูงชันอยํางยิ่ง (extremely steep)



                                3. ประเภทความลึกของดิน (phases of soil depth)
                                   ความลึกของดิน หมายถึง ความหนาของดินจากชั้นผิวดินหรือจากชั้นบนสุดที่เป็นวัสดุ
                     ดินอนินทรีย์หรือดินแรํ (mineral soil material) ในดินที่เป็นดินอนินทรีย์หรือดินแรํ (mineral soil) หรือ
                     จากชั้นผิวดินหรือจากชั้นบนสุดที่เป็นวัสดุดินอินทรีย์ (organic  soil  material)  ในดินที่เป็นดินอินทรีย์

                     (organic soil) ลงไปจนถึงชั้นที่มีสมบัติขัดขวางตํอการเจริญเติบโตหรือการชอนไชของรากพืช ถึงแม๎วําชั้นนี้
                     จะไมํท้าให๎รากพืชหยุดการเจริญเติบโตเลยทีเดียวแตํก็ท้าให๎รากพืชชะงักงัน ไมํสามารถเจริญเติบโตได๎
                     ตามปกติ ชั้นตํางๆ ดังกลําวได๎แกํ แนวสัมผัสของชั้นหินพื้นแข็ง (lithic contact) แนวสัมผัสของชั้นหินพื้นอํอน

                     (paralithic  contact) ชั้นเชื่อมแข็งของอินทรียวัตถุและอะลูมินัมและ/หรือเหล็ก (hard  of  spodic  horizon)
                     แนวสัมผัสของชั้นที่เชื่อมตัวกันแข็งของเหล็ก (petroferric  contact) ชั้นที่มีชิ้นสํวนหยาบ (coarse  fragment)
                     เชํน ลูกรัง ก๎อนกรวดหรือเศษหินในปริมาณมากกวําร๎อยละ 35 โดยปริมาตร ชั้นมาร์ล (marl layer) หรือ
                     ชั้นดานอื่นๆ ที่ขัดขวางตํอการชอนไชของรากพืช ชั้นความลึกของดินแบํงออกได๎ 5 ชั้น ดังนี้

                               สัญลักษณ์      ความลึก (เซนติเมตร)              ค้าอธิบาย

                                  d                  0-25           ตื้นมาก (very shallow : vsh)
                                   1
                                  d                 25-50           ตื้น (shallow : sh)
                                   2
                                  d                 50-100          ลึกปานกลาง (moderately deep :md)
                                   3
                                  d                100-150          ลึก (deep : d)
                                   4
                                  d             ลึกมากกวํา 150      ลึกมาก (very deep : vd)
                                   5
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29