Page 22 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองพระเพลิงน้อยลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง (รหัส 1502) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปราจีนบุรี (รหัส 15) พื้นที่ดำเนินการ บ้านท่าผักชี หมู่ 6 และบ้านหนองปักหลัก หมู่ 11 ตำบลพระเพลิง อำเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          11


                                      ดินเหนียวปนทรายแป้ง (sic: silty clay) เป็นดินที่ประกอบด๎วยอนุภาคดินเหนียวตั้งแตํ
                     ร๎อยละ 40 ขึ้นไป อนุภาคทรายไมํเกินร๎อยละ 45 และอนุภาคทรายแป้งมากกวําร๎อยละ 40

                                      ดินเหนียว (c:  clay) เป็นดินที่ประกอบด๎วยอนุภาคดินเหนียวตั้งแตํร๎อยละ 40  ขึ้นไป
                     อนุภาคทรายไมํเกินร๎อยละ 45 และอนุภาคทรายแป้งไมํเกินร๎อยละ 40
                                   2) ประเภทกลุํมของเนื้อดินบนที่เป็นวัสดุดินแรํ (phases of mineral surface texture
                     groups)

                                      กรณีของประเภทเนื้อดินบนมีความหลากหลายมาก ท้าให๎หนํวยแผนที่ดินมีเป็นจ้านวน
                     มาก ดังนั้นเพื่อเป็นการลดหนํวยแผนที่ลง อาจจัดรวมเป็นประเภทของกลุํมเนื้อดินบนที่อยูํระดับกลางๆ
                     หรือเป็นกลุํมเนื้อดินบนระดับหยาบ การรวมกลุํมอาจท้าได๎ 2  กลุํมใหญํ ได๎แกํ กลุํมเนื้อดินบนที่ระดับกลางๆ

                     และกลุํมเนื้อดินบนระดับหยาบ (ตารางที่ 1)
                                   3) ประเภทเนื้อดินบนที่เป็นดินอินทรีย์ (phases  for  soil organic  material  surface
                     texture)
                                      ประเภทเนื้อดินบนที่เป็นวัสดุดินอินทรีย์  ใช๎หลักเกณฑ์พิจารณาเชํนเดียวกับประเภท
                     เนื้อดินบนที่เป็นวัสดุดินแรํ เนื้อดินบนประเภทนี้สํวนใหญํใช๎กับดินที่มีชั้นวัสดุอินทรีย์หนาหรือเป็นดินใน

                     อันดับฮิสโตโซลส์ (Histosols)
                                      วัสดุดินอินทรีย์ (organic soil material) ในกรณีที่ดินอิ่มตัวด๎วยน้้าหรือเคยอิ่มตัวด๎วย
                     น้้าจะเป็นวัสดุดินอินทรีย์ที่มีคาร์บอนอินทรีย์ตั้งแตํร๎อยละ 18 โดยน้้าหนัก เมื่อมีดินเหนียวตั้งแตํร๎อยละ 60

                     ขึ้นไปโดยน้้าหนัก หรือมีคาร์บอนอินทรีย์ตั้งแตํร๎อยละ 12  โดยน้้าหนัก เมื่อไมํมีดินเหนียว หรือมีคาร์บอน
                     อินทรีย์ตั้งแตํร๎อยละ 12  โดยน้้าหนักรวมกับผลคูณของร๎อยละดินเหนียวด๎วย 0.1  (12  +  ร๎อยละของ
                     ดินเหนียว x 0.1) เมื่อมีดินเหนียวน๎อยกวําร๎อยละ 60 โดยน้้าหนัก (มีคาร์บอนอินทรีย์เป็นสัดสํวนระหวําง
                     ร๎อยละ 12-18 โดยน้้าหนัก เมื่อมีดินเหนียวระหวํางร๎อยละ 0-60 โดยน้้าหนัก) ในกรณีที่ดินไมํเคยอิ่มตัวด๎วยน้้า

                     จะต๎องมีคาร์บอนอินทรีย์ตั้งแตํร๎อยละ 20 ขึ้นไปโดยน้้าหนัก
                                      ประเภทเนื้อดินบนที่เป็นวัสดุอินทรีย์แบํงออกได๎ 3 ชนิด ดังนี้
                                         - ดินพีต (pt: peat) เป็นดินที่มีเส๎นใยมาก (fibric soil material)
                                         - ดินมักกี้พีต (mkp: mucky peat) เป็นดินที่มีเส๎นใยปานกลาง (hemic soil material)

                                         - ดินมัก (mk: muck) เป็นดินที่ไมํมีเส๎นใยหรือมีน๎อยมาก (sapric soil material)
                                      ส้าหรับดินอนินทรีย์หรือดินแรํที่พบในที่ลุํมต่้าหรือแอํงต่้า และเนื้อดินบนมีสมบัติ
                     ใกล๎เคียงกับดินมัก (muck)  แตํมีปริมาณคาร์บอนอินทรีย์น๎อยกวํา มีสีคล้้าและรํวนซุย อุ๎มความชื้นได๎ดี
                     โดยทั่วไปมีอินทรียวัตถุมากกวําร๎อยละ 10  และใช๎น้าหน๎าเพื่อขยายเนื้อดินที่เป็นดินแรํ เรียกวํา มักกี้

                     (mucky) เชํน ดินรํวนปนมัก (mkl: mucky loam)
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27