Page 14 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำเทิน ลำดับที่ พล.2(2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำแควน้อย (รหัส 0914) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09) พื้นที่ดำเนินการบ้านนาจาน หมู่ที่ 2 ตำบลหนองกระท้าว อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก
P. 14

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         2





                  2.  วัตถุประสงค์
                         2.1  เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ลุ่มน้้าสาขาแม่น้้าแควน้อย (รหัส 0914)

                  ส้าหรับก้าหนดเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้้า
                         2.2  เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้้า ส้าหรับก้าหนดพื้นที่

                  ด้าเนินการ

                         2.3  เพื่อศึกษาลักษณะและสมบัติดิน การจ้าแนกดิน สภาพการใช้ที่ดิน ประเมินความเหมาะสม
                  ของดินส้าหรับพืชเศรษฐกิจ และทางด้านปฐพีกลศาสตร์ ในพื้นที่ด้าเนินการ

                         2.4  เพื่อจัดท้าแผนที่ดิน แผนที่สภาพการใช้ที่ดิน และรายงานการส้ารวจดินในพื้นที่ด้าเนินการ

                  ส้าหรับใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนการใช้ที่ดิน


                  3.  การตรวจเอกสาร
                             3.1 ลุ่มน  า (watershed)

                                3.1.1 ลุ่มน้้า (watershed) หมายถึง พื้นที่บนผิวโลกที่รับน้้าฝนที่ตกลงมาแล้วไหลลงมา
                  รวมกันในแม่น้้า ล้าธาร หรือแอ่งรับน้้าในพื้นที่แล้วรวมกันไหลออกมาที่จุดใดจุดหนึ่งของล้าธารที่ก้าหนดขึ้น

                  เพื่อเป็นจุดตรวจวัด โดยมีแนวขอบเขตพื้นที่จากเส้นสันปันน้้า (กรมทรัพยากรน้้า, 2551) อีกนัยหนึ่ง

                  หมายถึง พื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งที่เน้นเกี่ยวกับการจัดการน้้า มีขนาดไม่แน่นอนแล้วแต่วัตถุประสงค์และความ
                  ต้องการในการจัดการ (นิวัติ, 2547) หรือหมายถึงพื้นที่หน่วยหนึ่งซึ่งครอบคลุมล้าน้้าธรรมชาติเพื่อท้าหน้าที่

                  รวบรวมน้้าให้ไหลลงสู่แม่น้้าหนึ่ง พื้นที่ลุ่มน้้าแต่ละแห่งจะมีขนาดไม่แน่นอน ขึ้นอยู่กับสภาพภูมิศาสตร์และ
                  วัตถุประสงค์ในการจัดแบ่งพื้นที่เพื่อการบริหารจัดการ (เกษม, 2551) และหมายถึงหน่วยพื้นที่  ซึ่งทาง

                  กายภาพมีรูปร่างปิด มีขอบโดยรอบ ระบบทางน้้าโดยธรรมชาติจะไหลจากขอบเข้าสู่ตอนกลางซึ่งมีล้าน้้า

                  หลักรองรับ มีทิศทางการไหลออกสู่พื้นที่รับน้้าที่มีขนาดใหญ่ เช่น มหาสมุทร ทะเล ทะเลสาบ หรือแม่น้้า
                  สายหลัก เป็นต้น โดยขนาดของลุ่มน้้าจะขึ้นกับความต้องการแต่ละบุคคลและประเภทการศึกษา ซึ่งภายใน

                  ล้าน้้าหนึ่งๆ จะประกอบด้วยลุ่มน้้าสาขามากกว่าหนึ่งเสมอ เพราะลุ่มน้้าเป็นระบบหรือระบบสิ่งแวดล้อม
                  (ค้ารณ, 2552)

                                3.1.2 การจัดการลุ่มน้้า (watershed management) หมายถึง การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
                  ทั้งมวลที่อยู่ในพื้นที่ลุ่มน้้า โดยเน้นที่การผลิตน้้า การป้องกันแหล่งน้้าและทรัพยากรอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

                  สัมพันธ์กับน้้า รวมทั้งการบรรเทาอุทกภัย การป้องกันดินพังและการดูแลรักษาคุณค่าความสวยงามตาม

                  ธรรมชาติในส่วนที่เกี่ยวข้องกับน้้า (นิวัติ, 2547) และเป็นการจัดการพื้นที่เพื่อให้ได้น้้าในปริมาณที่มากพอ
                  คุณภาพดี การไหลสม่้าเสมอ พร้อมทั้งควบคุมเสถียรภาพของดิน ลดความเสียหายจากน้้าท่วมและจัดการใช้

                  ทรัพยากรลุ่มน้้าอย่างมีประสิทธิภาพ (เกษม, 2551)

                                3.1.3 แบบรูปทางน้้า (drainage  pattern)  หมายถึง รูปร่างหรือการจัดรูปแบบทางน้้าตาม
                  ธรรมชาติในบริเวณใดๆก็ตามที่ปรากฏ เมื่อมองในแนวดิ่ง ทางน้้านี้จะแสดงถึงทิศทางการไหลของน้้าทั้งส่วนที่มี

                  น้้าไหลตลอดเวลาและส่วนที่มีน้้าไหลเป็นครั้งคราวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ แบบรูปทางน้้าจะมีความสัมพันธ์
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19