Page 87 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 87

82

                  สามารถซึมผานดินไปไดโดยงาย รวมทั้งการสรางสิ่งกีดขวางการไหลของน้ํา ซึ่งอาจใชวิธีการปลูกพืช หรือ

                  ใชวิธีกลก็ได
                     9.5.4. การทําทางระบายน้ํา (Waterway) การทําขั้นบันได (Terracing) เพียงอยางเดียว อาจไมเปนการ

                  เพียงพอเนื่องจากอาจมีน้ําสวนเกิน ซึ่งจะซึมลงไปในดินไมหมด น้ําสวนเกินนี้จะตองไดรับการระบายอยาง

                  ถูกวิธี โดยการทําทางระบายน้ําซึ่งมีหญาขึ้นหนาแนน เพื่อเบนน้ําไปสูพื้นลางหรือแหลงเก็บน้ําบริเวณ
                  ใกลเคียง

                     นอกจากหลักการที่สําคัญทั้ง 4 ประการในการอนุรักษดินและน้ําแลว มาตรการที่จะนําใชเพื่อ

                  กอใหเกิดประสิทธิผลในการอนุรักษดินและน้ํา สามารถแบงไดเปน 2 มาตรการใหญๆ คือ

                      (1)  มาตรการวิธีพืช  (Vegetative measure) เปนมาตรการที่คํานึงถึงหลักการในลักษณะเปนตัว
                  สกัดกั้นพลังน้ําฝนและอัตราการชะลาง ที่มีอิทธิพลตอการกัดชะหนาดินโดยตรง ซึ่งพืชพรรณในที่นี้

                  นอกเหนือจากพืชเศรษฐกิจแลว ยังมีพืชตระกูลหญา ตระกูลถั่ว ไมพุม หรือไมปาดวย มาตรการทางพืช มี

                  หลายวิธีดังตอไปนี้  เชน

                                 (1.1)  การปลูกพืชใหเหมาะสมตามชั้นสมรรถนะดิน
                                 (1.2)  การปลูกพืชเปนแถบตามแนวระดับ

                                 (1.3)  การใชวัสดุคลุมดิน การปลูกพืชคลุมดิน

                                 (1.4)  การปลูกพืชหมุนเวียน
                                 (1.5)  การปลูกพืชเปนแถบสลับ

                                 (1.6.) การใชระบบการปลูกพืชวิธีตางๆ  นอกเหนือจากที่กลาวมานี้  เชน  การปลูกพืช

                  เหลื่อมฤดู เปนตน
                          (2) มาตรการวิธีกล (Mechanical measure) โดยหลักการนั้น มาตรการทางกลหรือทางวิศวกรรมนั้น

                  เปนวิธีการที่สําคัญอันหนึ่งในการจัดการที่ดิน ซึ่งสวนใหญจะเปนสิ่งกอสราง ทั้งถาวรและชั่วคราว เพื่อเปน

                  ตัวขวาง  และเบนน้ําไหลบาที่ไหลในพื้นที่การเกษตรไปสูแหลงกักเก็บ  เพื่อลดอัตราการชะลางพังทลาย

                  สําหรับมาตรการวิธีกลนั้น  นอกจากจะชวยปองกันการชะลางพังทลายของดินแลว  ยังสามารถชวยกักเก็บน้ํา
                  และปรับปรุงสมรรถนะการซึมของน้ําไดดวย การใชวิธีนี้มีอยูหลายวิธี ซึ่งพอสรุปไดดังนี้ เชน

                                 (2.1) การไถพรวน ตามแนวระดับ (Contouring plough)

                                 (2.2)  คันดิน (Bund on terrace)
                                 (2.3)  ขั้นบันไดดิน (Bench terracing)

                                 (2.4)  คูรับน้ํารอบเขา (Hillside ditch)

                                 (2.5)  ทางระบายน้ํา (Waterway)

                                 (2.6)  ฝายกักเก็บน้ํา (Weir)
                          มาตรการวิธีกลยังมีอีกมากมาย  ขึ้นอยูกับการนําไปประยุกตใชในแตละทองถิ่น  ซึ่งแตกตางกันไป

                  รวมทั้งงบประมาณดวย เพราะเปนวิธีที่คอนขางจะลงทุนสูง
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92