Page 92 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 92

87

                                 9.7.3.  การปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 1 ออกแบบเปนทางเดินลําเลียงในไรนาได

                                 9.7.4.  การปรับรูปแปลงนา ลักษณะที่ 2    ออกแบบใชเปนคันลอมพื้นที่ปองกันน้ําทวม
                  เปนพื้นที่เก็บกักน้ําและกระจายน้ํา ตามหัวไรปลายนา (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)  และออกแบบเปนคลอง

                  สงน้ําและระบายน้ําในพื้นที่ได

                                 9.7.5.  การปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 2 สามารถประยุกตออกแบบเปนคันดินเบนน้ํา/
                  ระบายน้ํา/เก็บกักน้ําในพื้นที่ดอน โดยมีการสรางบอดักตะกอนขนาดเล็กใหทําหนาที่เก็บกักน้ําไวใช

                  ประโยชน หรือคันดินเล็กๆ ทําหนาที่ชะลอน้ํา (Check  dam)  หรือฝายน้ําลน เวนระยะตามความเหมาะสม

                  เพื่อเก็บกักน้ําและใหน้ําซึมลงดินในแนวดิ่ง

                                 9.7.6.  ทางลําเลียงในไรนา  ออกแบบเปนโครงสรางแทนคันดินเบนน้ําและระบายน้ําได
                                 9.7.7.  อาคารชะลอน้ําไหลบา (Check  dam)  หรือฝายน้ําลน  สามารถออกแบบและสราง

                  เกี่ยวเนื่องกับทางระบายน้ํา บอดักตะกอนหรือบอกระจายน้ํา คันดินเบนน้ํา เพื่อการเก็บกักน้ํา

                                 9.7.8.  บอดักตะกอน ออกแบบเปนบอกระจายน้ําและเก็บน้ําได ใหทําหนาที่เหมือนสระ

                  น้ําขนาดเล็กประจําไรนา แตตองเกี่ยวเนื่องกับระบบระบายน้ําและเบนน้ําของพื้นที่
                                 9.7.9.  สระน้ําในไรนา บอน้ําขนาดเล็ก การออกแบขอบสระน้ําหรือบอน้ําควรออกแบบ

                  ใหมีลักษณะเปนขั้นบันใดเล็กๆ เพื่อปลูกหญาแฝกและพืชผักอื่นๆ  และควรใชประโยชนน้ําในทางเกษตร

                  อยางมีประสิทธิภาพในพื้นที่บริเวณรอบขอบสระน้ํา/บอน้ํา
                                 9.7.10. การสรางสระเก็บน้ําในไรนา/บอน้ําในพื้นที่แหงแลง (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)

                  ซึ่งเปนดินรวนปนทราย หรือดินทราย มีการระบายน้ําดิน ไมสามารถเก็บน้ําได จําเปนตองใชวัสดุปูพื้นสระ

                  น้ํา ปกติใชพลาสติกแตผุผังขาดได ปจจุบันมีแผนแรดินเหนียวใชปูพื้นสระน้ํามีประสิทธิภาพในการเก็บกัก
                  น้ําไดดีมาก

                                 9.7.11. การออกแบบทางระบายน้ํา เพื่อลดการชะลางพังทลายของดินและลดการเสียพื้นที่

                  เกษตร สามารถใชทอลอดซีเมนตหรือทอพีวีซี วางเปนทางระบายน้ําตามความเหมาะสม ใหเกี่ยวเนื่องกับบอ
                  ดักตะกอน หรืออาคารชะลอน้ําไหลบา

                                 9.7.12.  คันดินแบบ 1-6  และการปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 1-3 สระน้ําในไรนา/บอ

                  กระจายน้ํา/บอเก็บกักน้ํา ทางระบายน้ํา ฝายน้ําลน ฯลฯ สามารถบูรณาการออกแบบผสมผสานตามความ

                  เหมาะสม เพื่อการใชพื้นที่เกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง/เกษตรทฤษฎีใหมหรือเกษตรผสมผสานใหกับ
                  เกษตรกรรายยอยได แตตองอยูในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน และตองเกี่ยวเนื่องกับโครงสรางจัดระบบอนุรักษดิน

                  และน้ําโดยรวมของเขตพัฒนาที่ดิน



                  9.8. ระบบการปลูกพืชเพื่อการอนุรักษดินและน้ํา
                           ระบบการปลูกพืช มีสวนสําคัญในการจัดการวางระบบการพัฒนาที่ดิน เนื่องจากทรัพยากรที่ดิน

                  และน้ําเปนปจจัยที่สําคัญตอการปลูกพืช ระบบการปลูกพืชนั้น ไดเนนความสําคัญของปจจัยการเกษตรอยู 2
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97