Page 83 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 83

78

                                    ค. ในที่ที่เกือบอยูในแนวระดับหรืออยูในแนวระดับการเกิดการชะลางพังทลายเกือบจะ

                  ไมมีเลย บริเวณดินบนที่ถูกชะลางะลาย (A2) จะลึก ธาตุอาหารพืชและอนุภาคดินเหนียวสวนมากถูกชะ
                  ละลายออกไปจากบริเวณรากพืช ดังนั้นโดยปกติแลวดินนี้จะมีความอุดมสมบูรณต่ําและมีโครงสรางไมดี

                                 9.3.2. การชะลางพังทลายโดยมีตัวเรง

                           การชะลางพังทลายที่มีตัวเรง หมายถึงการชะลางพังทลายที่มนุษยหรือสัตวเลี้ยงเขามาชวยเรงใหมี
                  การกัดกรอนเพิ่มขึ้นจากการชะลางพังทลายโดยธรรมชาติ ซึ่งเกิดขึ้นเปนประจําอยูแลว เชน การหักลางถาง

                  ปาทําการเพาะปลูกอยางขาดหลักวิชา ทําใหพื้นดินปราศจากสิ่งปกคลุม ทําใหการกัดกรอนโดยลมและฝน

                  เกิดขึ้นและพัดพาดินสูญเสียไปไดเพิ่มขึ้น การสูญเสียดินจะมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับวิธีการที่ใชทํา

                  การเกษตร
                          การชะลางพังทลายโดยน้ํา คือ การแตกกระจายและพัดพาดินไปโดยน้ํา อาจจะพิจารณาจากอัตรา

                  การแตกกระจายของดิน (Rate  of  detachment)  มีหนวยวัดเปนน้ําหนักตอพื้นที่ตอเวลา เชน ตันตอไรตอป

                  และอัตราของการพัดพาตะกอนดิน (Rate of transportation) มีหนวยวัดเปนน้ําหนักตอระยะทางตอพื้นที่ตอ

                  เวลา เชน ตันตอไมลตอไรตอป ดินที่มีความยากงายในการที่จะเกิดการชะลางพังทลายของดินแตกตางกัน
                  ออกไป ขึ้นอยูกับสมบัติของดินที่ไดรับมาจากวัตถุตนกําเนิด การใชที่ดิน และการจัดการ



                   9.4. การประเมินการสูญเสียดิน
                              การศึกษาสมการสูญเสียดินสากล (The Universal Soil Loss Equation-USLE) มีการศึกษาและ

                  พัฒนาขึ้นในสหรัฐอเมริกา เพื่อใชประเมินการสูญเสียดินในแปลงปลูกพืช มีการปรับปรุงและพัฒนาครั้ง

                  สุดทายในป 1978 (Wischmeier and Smith, 1978 และ Morgan, 1980) มีรูปสมการดังนี้ คือ
                                               A = RKLSCP

                             โดย  A =  คาปริมาณการสูญเสียดินที่คํานวณไดตอพื้นที่  มีหนวยผันแปรไปตามการประเมิน

                  (ตันตอเฮกตารตอป)
                                   R = คาปจจัยเกี่ยวกับน้ําฝน เปนคาดัชนีการชะลางพังทลายของดินที่เกิดจากฝน (ตัน-เมตร

                     ตอเฮกตารตอป)

                                  K  = คาปจจัยความยากงายตอการถูกชะลางของดินเปนคาอัตราการสูญเสียดินตอหนึ่ง

                     หนวยของคาดัชนีการชะลางพังทลายของดินโดยฝน จากแปลงมาตรฐาน ที่มีขนาดความยาวของแปลง
                     72.6 ฟุต และมีความลาดชัน 9 เปอรเซ็นต มีการไถพรวนขึ้นลงตามความลาดเท และปลอยใหวางเปลาไมมี

                     การปลูกพืช

                                  L = คาปจจัยความยาวของความลาดเท เปนคาอัตราสวนของการสูญเสียดินจากแปลงที่มี

                  ความยาวของความลาดเทใดๆ กับแปลงที่มีความยาวของความลาดเท 72.6 ฟุตโดยมีสภาพอื่นๆเหมือนกัน
                                  S = คาปจจัยความลาดเท เปนคาอัตราสวนของการสูญเสียดินจากแปลงที่มีความลาดชัน

                  ใดๆกับแปลงที่มีความลาดชัน 9 เปอรเซ็นต โดยมีสภาพอื่นๆเหมือนกัน
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88