Page 84 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 84

79

                                  C = คาปจจัยจัดการพืช เปนคาอัตราสวนของการสูญเสียดิน จากแปลงที่มีการปลูกพืช

                  และมีการจัดการใดๆ กับแปลงที่มีการไถพรวนดินขึ้นลงตามความลาดเท แลวปลอยไววางเปลาและไมมีการ
                  ปลูกพืช ซึ่งทั้ง 2 แปลงนี้ตองอยูในสภาพดิน ความลาดเท และปริมาณฝนที่เหมือนกัน

                                  P = คาปจจัยอนุรักษ เปนคาอัตราสวนของการสูญเสียดิน จากแปลงที่มีวิธีการอนุรักษดิน

                  และน้ําชนิดใดๆ กับแปลงที่มีการไถพรวนดินขึ้นลงตามความลาดเท แลวปลอยไววางเปลาและไมมีการปลูก
                  พืช ซึ่งทั้ง 2 แปลงนี้ตองอยูในสภาพดิน ความลาดเท และปริมาณฝนที่เหมือนกัน


                           9.4.1. การจัดชั้นอัตราการสูญเสียดิน

                           การสูญเสียดินจะสงผลกระทบเสียหายรุนแรงหรือไม  ยอมขึ้นกับลักษณะของดินในแตละพื้นที่

                  หากกระบวนการเกิดดินเปนไปอยางรวดเร็ว  ดินลึกและมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติสูง  แมจะมีอัตรา
                  การสูญเสียดินสูงก็อาจไมมีผลกระทบตอการใชที่ดิน  ตรงกันขามถาดินตื้น  มีความอุดมสมบูรณต่ํา  และ

                  กระบวนการเกิดดินเปนไปอยางชาๆ  แมมีการสูญเสียดินเพียงเล็กนอยก็อาจสงผลกระทบเสียหายรุนแรงตอ

                  การใชประโยชนบนที่ดินนั้น  คาการสูญเสียดินเมื่อนํามาเปรียบเทียบกับลักษณะตามธรรมชาติของดินใน

                  ประเทศยอมสามารถวิเคราะหความเสียหายจากการสูญเสียดินได
                           คาการสูญเสียดินที่คํานวณไดจากสมการการสูญเสียดินสากล  นํามาจัดชั้นความรุนแรงของการ

                  สูญเสียดิน และแสดงผลออกมาเปนแผนที่การสูญเสียดิน มีจุดมุงหมายเพื่อใหทราบถึงขอบเขตของพื้นที่ที่มี

                  ปญหาเนื่องจากการสูญเสียดิน ตลอดทั้งระดับความรุนแรงของการสูญเสียดินที่เกิดขึ้นในภูมิภาคตางๆ ของ

                  ประเทศ  เพื่อเปนแนวทางในการวางแผนอนุรักษดินและน้ํา ระดับเขตพัฒนาที่ดิน ระดับภาค  และ
                  ระดับประเทศตอไป

                           การจัดชั้นอัตราการสูญเสียดิน ยึดถือตามแนวคิดดังตอไปนี้ คือ

                                (1) คาการสูญเสียดินสูงสุดที่ยอมรับไดสําหรับพื้นที่เกษตร (Soil loss tolerance) คือ ระดับที่
                  ยังคงไดรับผลผลิตพืช และมีความยั่งยืนทางเศรษฐกิจ (USDA, 1997)

                                (2) ดินมีความเหมาะสมสําหรับการใชประโยชนมาก เมื่อการใชประโยชนนั้นมีความยั่งยืน

                  นาน 25 ป ขึ้นไป (FAO, 1993)
                                (3) หลักการสํารวจดิน (Soil Survey Manual) ของ USDA (1993) มีการจําแนกการชะลาง

                  พังทลายของดินสําหรับพื้นที่เกษตรกรรม เปน 4 ระดับ โดยพิจารณาจากอัตราการสูญเสียดินชั้นบนที่เรียกวา

                  ชั้น A และ E horizon คือ

                         ชั้น 1 :  การสูญเสียดินเปนคาเฉลี่ยนอยกวา 25 เปอรเซ็นต ของความหนาของชั้น A/E เดิม (หรือ

                                ของความหนา 20 เซนติเมตร ถา A/E หนานอยกวา 20 เซนติเมตร) สภาพพื้นที่สวนใหญไม

                                มีการชะลางพังทลาย หรือมีการชะลางพังทลายนอยกวา 20 เปอรเซ็นต ของพื้นที่
                         ชั้น 2 :  การสูญเสียดินเปนคาเฉลี่ย 25-75 เปอรเซ็นต  ของความหนาของชั้น A/E (หรือของความ

                                หนา 20 เซนติเมตร ถา A/E หนานอยกวา 20 เซนติเมตร) พื้นที่เกษตรสวนใหญยังมีชั้น A/E
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89