Page 85 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 85

80

                                เหลืออยูแตถูกไถปนกับดินลางไปแลว แตถาบริเวณนั้นมีชั้น A/E ลึก จะยังคงเห็นชั้น A/E

                                ไดบาง
                         ชั้น 3 :  การสูญเสียดินชั้นบนมากกวา 75 เปอรเซ็นต ของความหนาชั้น A/E เดิม (หรือของความ

                                หนา 20 เซนติเมตร ถา A/E หนานอยกวา 20 เซนติเมตร) พื้นที่เกษตรสวนใหญมีดินลางใต

                                ชั้น A/E โผลขึ้นมา บริเวณที่มีชั้น A/E ลึก อาจมีดินบนเหลืออยูบางแตถูกไถปนกับดินชั้น
                                ลางไปแลว

                         ชั้น 4 :   ทั่วพื้นที่มีการสูญเสียดินทั้งหมดของชั้น A/E (หรือดินบน 20 เซนติเมตร ถาชั้น A/E หนา

                                นอยกวา 20 เซนติเมตร) พบเห็นรองลึก (Gully) จํานวนมาก

                                (4)  การสํารวจลักษณะหนาตัดดินและความลึกของชั้น A/E  ของชุดดินตางๆ  ในประเทศ

                  ไทย โดยกองสํารวจและจําแนกดิน กรมพัฒนาที่ดิน พบวาดินในประเทศไทยในสภาพปกคลุมดวยพืชพรรณ

                  ธรรมชาติ มีความหนาเฉลี่ยของชั้น A/E อยูที่ 24 เซนติเมตร

                                (5) การวิเคราะหความหนาแนนรวม (Bulk density) ของชุดดินตางๆในประเทศไทย โดย
                  กองวิเคราะหดิน กรมพัฒนาที่ดิน พบวาดินในสภาพธรรมชาติมีคาความหนาแนนรวมเฉลี่ยอยูที่ 1.3 กรัมตอ

                  ลูกบาศกเซนติเมตร

                                (6) การศึกษาการสูญเสียดินในแปลงทดลองของกองอนุรักษดินและน้ํา กรมพัฒนาที่ดิน
                          จากขอพิจารณาทั้งหมดขางตนสามารถกําหนดปริมาณการสูญเสียดินสูงสุดที่ยอมรับได (Soil loss

                  tolerance หรือ Permissible soil loss) สําหรับดินในประเทศไทยเปน 2 ตันตอไรตอป หรือเทียบเทากับ 0.96

                  มิลลิเมตรตอป  การสูญเสียในระดับนี้ไมทําใหสมรรถนะของดินสําหรับการเกษตรเปลี่ยนแปลงตลอด
                  ระยะเวลา 25 ป คาการสูญเสียดินที่สูงกวาระดับนี้จะมีผลเสียหายตอคุณภาพดินและผลผลิตพืชในระยะยาว ไม

                  มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ และจําเปนตองมีการอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสม

                          การจัดชั้นความรุนแรงของการสูญเสียดิน จําแนกเปน 5 ระดับ ดังตารางที่ 8 คือ

                                ชั้น 1 นอย (Slight) อัตราการสูญเสียดิน 0-2 ตันตอไรตอป (0-0.96 มิลลิเมตรตอป)

                                ชั้น 2 ปานกลาง (Moderate) อัตราการสูญเสียดิน 2-5 ตันตอไรตอป (0.96-2.4 มิลลิเมตรตอ
                  ป) การสูญเสียดินทําใหผลผลิตพืชลดลง

                                ชั้น 3 รุนแรง (Severe) อัตราการสูญเสียดิน 5-15 ตันตอไรตอป (2.4-7.2 มิลลิเมตรตอป)

                  การสูญเสียดินมีผลทําใหความตองการในการจัดการดินผิดไปจากเดิม หรือตองเสียคาใชจายเพิ่มมากขึ้น แต
                  ดินยังมีขีดความสามารถใชปลูกพืชไดเหมือนเดิม

                                ชั้น 4  รุนแรงมาก (Very severe)  อัตราการสูญเสียดิน 15-20  ตันตอไรตอป (7.2-9.6

                  มิลลิเมตรตอป) การสูญเสียดินทําใหขีดความสามารถของดินสําหรับปลูกพืชเปลี่ยนเลวลงกวาเดิม เชน ดิน
                  ไมสามารถใชปลูกขาวโพดไดอีกตอไป ตองเปลี่ยนไปทําทุงหญาเลี้ยงสัตวแทน และตองเสียคาใชจายในการ
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90