Page 91 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 91

86

                  พื้นที่ยังใชเพื่อทํานา สําหรับลักษณะความลึกและความกวางของคูที่จะขุดดินขึ้นมาถมเปนคันจะผันแปรไป

                  ตามลักษณะดิน


                     ปลูกไมผล-พืชผัก-พืชไร-ไมดอก

                                       รองน้ํา
                                      2.00 ม.
                                                                          รองน้ํา         ดินถมยกระดับคันดิน
                                                      พื้นที่ทํานา
                                      2.00 ม.

                                                 0.80 ม.
                                                                                     ดินขุดตักรองน้ํา

                                      1.20 ม.


                            9.6.9.  การปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 3 มีลักษณะเหมือนคันดินที่สรางขึ้นโดยใหระดับของคันดิน

                  อยูในระดับเดียวกัน ทําโดยการขุดดินขึ้นใหเปนคูน้ําทั้งสองดานแลวนําดินนั้นมาถมเปนคันดิน วัตถุประสงค

                  เพื่อเก็บกักน้ําและระบายน้ําในพื้นที่ราบและราบลุม บนคันดินสามารถปลูกพืชเศรษฐกิจ เชน ไมผล-ไมยืน
                  ตนแบบแถวเดียวขนาดของรองปลูกไมผลจะผันแปรไปตามลักษณะดิน  การปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 3 นี้

                  สามารถออกแบบตอเนื่องทําเปนแปลงใหญ ๆ ได



                                                                 ปลูกไมผล-ไมยืนตน


                                                                  ปลูกหญาแฝก

                                      คูน้ํา                                       คูน้ํา







                  9.7. กาประยุกตใชโครงสรางมาตรฐานในเขตพัฒนาที่ดิน

                           โครงสรางระบบอนุรักษดินและน้ํามาตรฐานของกรมพัฒนาที่ดินนั้น สามารถดัดแปลงออกแบบให

                  สอดคลองกับความตองการของเกษตรกร และชุมชมในเขตพัฒนาที่ดินได  ผูเขียนใครขอเสนอแนะแนว
                  ทางการประยุกตออกแบบระบบอนุรักษดินและน้ําในเขตพัฒนาที่ดิน ใหมีประสิทธิภาพไดหลายกรณี เชน

                                 9.7.1. คันดินแบบ 1 -3   ออกแบบเปนคันดินฐานกวาง ใชเปนทางลําเลียงในไรนาได

                                 9.7.2.  คันดินแบบ 4-6 (ปกติออกแบบเพื่อรับน้ํา เบนน้ํา และระบายน้ํารอบขอบเขาลงสู
                  รองน้ําธรรมชาติหรือทางระบายน้ํา )  สามารถออกแบบเปนคูเก็บกักน้ํารอบขอบเขาเพื่อใหน้ําซึมลงดินใน

                  แนวดิ่ง โดยสรางคันดินเล็กๆ ทําหนาที่ชะลอน้ํา ( Check dam)  เวนระยะตามความเหมาะสม
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96