Page 86 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 86

81

                  จัดการดินสูงมากเกินกวาระดับที่ยอมรับได หรือใชเวลานานมากในการปรับปรุงคุณภาพดินใหใชปลูกพืชได

                  เชนเดิม
                                ชั้น 5 รุนแรงมากที่สุด (Extremely severe) อัตราการสูญเสียดินมากกวา 20 ตันตอไรตอป

                  (มากกวา 9.6 มิลลิเมตรตอป) มีการชะลางพังทลายของดินเปนรองลึก (Gully) เกิดขึ้นทั่วไป




                  ตารางที่  8  การจัดชั้นความรุนแรงของการสูญเสียดินในประเทศไทย


                                                                     อัตราการสูญเสียดิน
                        ระดับการสูญเสียดิน
                                                       ตันตอไรตอป                 มิลลิเมตรตอป

                      1 : นอย                              0 – 2                            0 - 0.96

                      2 : ปานกลาง                           2 – 5                       0.96 - 2.4

                      3 : รุนแรง                           5 – 15                        2.4 - 7.2
                      4 : รุนแรงมาก                       15 – 20                        7.2 - 9.6

                      5 : รุนแรงมากที่สุด               มากกวา 20                     มากกวา 9.6



                    9.5. มาตรการอนุรักษดินและน้ํา
                          การอนุรักษดินและน้ํา เปนการปองกันและรักษา ตลอดจนการปรับปรุงความอุดมสมบูรณของดิน

                  และน้ําเพื่อใหผลผลิตการเกษตรดีขึ้น เปนการรูจักใชพื้นที่ดินภายในขอบเขตจํากัดของเศรษฐกิจ วิธีใดๆ ก็

                  ตามเพื่อที่จะรักษาความสามารถในการใหผลผลิตสูง  และสามารถใชที่ดินนั้นในการเกษตรกรรมไดนาน
                  ที่สุดที่จะทําได ซึ่งอาจจะทําไดโดยการมีเกษตรกรรมอยางถูกตองและเหมาะสมหรือใชวิธีการพิเศษเพื่อ

                  อนุรักษดินและน้ําโดยเฉพาะก็ได ถือวาเปนเครื่องมือ หรือวิธีการอนุรักษดินและน้ําทั้งสิ้น เพื่อที่จะทําให

                  บรรลุถึงจุดหมายของการอนุรักษดินและน้ําไดนั้น จะตองอาศัยหลักการตางๆ ที่สําคัญ 4 ประการ ดังตอไปนี้

                  คือ (สมเจตน, 2522)
                         9.5.1. การปรับปรุงบํารุงดิน  การปรับสภาพดินนั้นสามารถทําไดโดยการปรับปรุงใหดินใหสามารถ

                  ทนทานตอการแตกกระจายและการพัดพา และใหน้ําซึมผานไดดีขึ้น เชน ทําใหโครงสรางของดินรวนซุย

                  ทนทานตอการชะลางพังทลายและสามารถรักษาความชื้นใหคงอยูในดินไดในระดับพอเหมาะ รวมทั้งการ
                  รักษาปริมาณอากาศในบริเวณรากพืชใหอยูในอัตราสวนที่เหมาะสม

                      9.5.2 การคลุมดิน (Cover the soil) จุดมุงหมายเพื่อปองกันการกระทบของเม็ดฝน เชน การคลุมดิน

                  ดวยพืชหรือเศษเหลือของพืช เพื่อชวยปองกันดินจากแรงกระทบของเม็ดฝน ลดความเร็วของลมที่ผิวหนาดิน

                  และชวยปรุงแตงสมบัติของฟสิกส ของดินใหเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของพืช
                     9.5.3. การลดความเร็วของน้ําไหลบา (Decrease runoff velocity) จุดมุงหมายเพื่อลดการแตกกระจาย

                  และการพัดพาของอนุภาคของดิน โดยเพิ่มความสามารถในการเกาะตัวของดิน (Soil aggregation) และใหน้ํา
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91