Page 81 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 81

76

                           สมเจตน (2522)  กลาวไววา เม็ดฝนที่ตกลงมา เปนตัวการที่สําคัญที่สุดที่ทําใหอนุภาคดินแตกแยก

                  ออกจากกัน เม็ดฝนที่มีอนุภาคใหญจะตกลงดินดวยความเร็วสูงจึงมีพลังงานที่จะทําใหอนุภาคดินแตกแยก
                  ออกจากกัน เม็ดฝนที่มีอนุภาคใหญจะตกลงดินดวยความเร็วสูง จึงมีพลังงานที่จะทําใหอนุภาคดินแตกแยก

                  ออกจากกัน และปริมาณน้ําฝนที่ตกลงบนผิวดินมีปริมาณมากกวาน้ําไหลบาไปตามผิวดิน นั่นคือมีมวลของ

                  น้ําฝนมากกวามวลของน้ําที่ไหลบาไปตามผิวดิน และเม็ดฝนที่ตกลงสูผิวดินดวยความเร็วที่มากกวาการไหล
                  ของน้ําบนผิวดิน ดังนั้น พลังงานที่ทําใหอนุภาคดินแตกแยกออกจากกัน จึงมีมากกวาน้ําไหลบาบนผิวดิน

                  อยางไรก็ตาม น้ําไหลบาบนผิวดินมีการไหลอยูสองชนิด คือ การไหลแบบแผน (Laminar flow or sheet flow) ซึ่ง

                  มีพลังงานมากพอที่จะทําใหอนุภาคดินแตกแยกออกจากกันในขบวนการพังทลายแบบรองน้ํา (Gully erosion)

                           การชะลางพังทลายของดิน เปนสาเหตุหลัก ที่มีผลตอความอุดมสมบูรณของดินในระยะยาว
                  ปริมาณธาตุอาหารพืชที่สูญเสียไปในแตละฤดูกาลนั้น จะเกิดความรุนแรงมากขึ้นในชวงระหวางที่มีการ

                  พังทลายของดินที่เกิดขึ้น โดยธาตุอาหารพืชในดินจะถูกดูดซับติดมากับตะกอนหรือละลายมากับน้ําไหลบา

                  หนาดิน ซึ่งจะไหลลงสูดินชั้นลางสูแมน้ําลําธารตอไป การเกิดการชะลางพังทลายของดินขึ้นอยูกับ

                  ความสามารถในการทําใหเกิดการชะลางพังทลายของฝน อํานาจหรือความสามารถในการกอใหเกิดการชะ
                  ลางพังทลายของฝนนั้น ไมสามารถควบคุมได นอกจากนี้ ความยากงายในการเกิดการชะลางพังทลายของดิน

                  นั้น ขึ้นอยูกับสมบัติของดินที่ไมอาจเปลี่ยนแปลงไดมากนัก  แตที่สําคัญคือการจัดการ (Management) พื้นที่

                  ซึ่งอยูภายใตการควบคุมของมนุษยนั้น คือการปฏิบัติตางๆ ที่กระทําใหกับดิน ไดแก การจัดการที่ดิน และการ
                  จัดการพืช อยางไรก็ตาม การจัดการที่ดีที่สุด คือการใชที่ประโยชนที่ดินดินอยางเขมขน และใหผลผลิตที่ดี

                  ที่สุดนั้น สามารถจะปฏิบัติได โดยไมทําใหคุณภาพของดินนั้นเสื่อมโทรม การใชที่ดินอยางมีประสิทธิภาพ

                  และเหมาะสมที่สุด ไดแกการใชที่ดินตามสมรรถนะของดิน สวนการจัดการพืชนั้น  ขึ้นอยูกับการใชที่ดิน
                  ชนิดตางๆ และการใชที่ดินเพื่อวัตถุประสงคโดยเฉพาะ ระบบการปลูกพืชแตละชนิดทําใหเกิดการพังทลาย

                  ของดินไดแตกตางกัน ขึ้นอยูกับการเตรียมดิน วิธีการปลูก หรือระบบการปลุกพืช การปฏิบัติตางๆ ในขณะที่

                  พืชเจริญเติบโต ธรรมชาติและลักษณะการเจริญเติบโตของพืช วิธีการเก็บเกี่ยวพืช ตลอดจนการจัดการ
                  ปริมาณเศษเหลือของพืชหลังการเก็บเกี่ยว (สมเจตน, 2522)

                                  การชะลางพังทลายของดิน หมายถึงกระบวนการแตกกระจาย (Detachment)  และการพัดพาไป

                  (Transportation)  ของดินโดยตัวการกัดกรอน (Erosion  agents)  ไดแก การชะลางพังทลายโดยน้ํา (Water

                  erosion) ซึ่งเปนกระบวนการที่สําคัญอยางมากในประเทศไทย  และการพังทลายโดยลม (Wind erosion) การ
                  ชะลางพังทลายแบงไดเปน 2 ประเภท คือ การชะลางพังทลายโดยธรรมชาติ (Geologic or natural or normal

                  erosion) และการชะลางพังทลายโดยมีตัวเรง (Accelerated or man-made erosion) ซึ่งมีรายละเอียดไดดังนี้

                           9.3.1. การชะลางพังทลายโดยธรรมชาติ
                                การชะลางพังทลายโดยธรรมชาติ หมายถึงการชะลางพังทลาย ซึ่งเกิดขึ้นตามธรรมชาติโดยมี

                  ทั้งน้ําและลมเปนตัวการ เชน การชะละลาย (Leaching) แผนดินเลื่อน (Landslides) การพัดพาโดยลมตาม

                  ชายฝงทะเลหรือในทะเลทราย การพัดพาดินแบบนี้เปนแบบที่ปองกันไมได และถาเกิดการชะลางพังทลาย
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86