Page 77 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 77

72

                  คาความรุนแรงของน้ําฝน พิจารณาจากความตองการที่ใหโครงสรางนั้นๆ สามารถใชงานไดนานมากนอย

                  เพียงใด เชน
                                    คันดินเบนน้ํา หรือกักน้ํา       ตองการใหทน     5  ป

                                    อางกักน้ําหรือบอดักตะกอนดิน   ตองการใหทน   10  ป

                                    อางเก็บน้ํา                    ตองการใหทน   20  ป
                                (5)  ความเร็วของน้ําไหลบาในรองน้ํา โดยปกติแลวกอนที่จะกอสรางโครงสรางเพื่อปองกัน

                  การชะลางพังทลายของดิน ก็ควรจะตองมีการคํานวณและออกแบบ เพื่อใหน้ําที่ไหลบาไปบนพื้นที่นั้นมี

                  ความเร็ว ที่จะไมกอใหเกิดการกัดเซาะและสูญเสียหนาดิน

                                  สูตรของการคํานวณความเร็วของน้ําไหลบาในรองน้ํา จาก  Manning’s formula
                                    คือ   V   =    1    R  S
                                                   2/3  1/2
                                                  n

                                    ในที่นี้   V   =   ความเร็วของกระแสน้ํา เปน เมตรตอวินาที

                                               R   =   รัศมีของน้ํา (Hydraulic radius)

                                               S   =    ความลาดเท มีหนวยเปนทศนิยมของเมตร
                                               n   =    สัมประสิทธิ์ของความขรุขระของผิว




                                   ความเร็วสูงสุดที่น้ําไหลไปไดในรองน้ํา ขึ้นอยูกับชนิดของดิน และความหนาแนนของพืชที่ปก
                  คลุมอยู (ถามี) ตารางที่ 7 แสดงใหเห็นถึงคาความเร็วสูงสุดที่น้ําไหลในรองน้ํา ซึ่งไมมีหญาปกคลุม




                  ตารางที่  7  ความเร็วสูงสุดของน้ําในรองน้ําที่ไมมีหญาปกคลุม

                                เนื้อดิน                                 ความเร็วของน้ํา (เมตรตอวินาที)

                  ดินเหนียว                                                    0.3 เมตรตอวินาที
                  ดินทรายละเอียดหรือดินรวนปนทราย                              0.5 เมตรตอวินาที

                  ดินรวน                                                      0.6 เมตรตอวินาที

                  ดินรวนที่มีการจับตัวกันแนน                                 0.7 เมตรตอวินาที

                                 (6) ความจุของรองน้ํา (Channel capacity) สําหรับในรองน้ําของคันดิน หรือทางระบายน้ํา

                  ของอางเก็บน้ํา จําเปนตองมีความจุเพียงพอที่รับปริมาณน้ําไหลบาทั้งหมด

                                        คํานวณจากสูตร q  =  CiA        ลูกบาศกเมตรตอวินาที
                                                                     360

                   ไดความจุของรองน้ํา คํานวณไดจาก        a  =    q             ลูกบาศกเมตรตอวินาที
                                                                      v
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82