Page 29 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 29

24

                  ตารางที่ 3  (ตอ)

                    ลักษณะพื้นที่        จุดแข็ง            จุดออน            โอกาส             อุปสรรค

                   เขตพัฒนาที่ดิน

                    พื้นที่กลางน้ํา   เกษตรกรถือครองที่ดิน   ปลูกพืชเชิงเดียวเพื่อ  มีหนวยงานอื่น มี  ขาดแคลนน้ําใน
                     (พื้นที่ดอน)   มีความเขมแข็ง มีความ  การคา  เผาเศษซาก  ศูนยฯ เรียนรู มี  หนาแลง  ดินรวนปน
                                   หลากหลายการเกษตร    พืช ปญหาดินเสื่อม  โรงเรียน วัด รัฐ  ทราย มีการชะลาง
                                   มีการศึกษา มีหมอดิน  โทรม  ราคาผลผลิต  สนับสนุนปจจัยการ  ดินมีความอุสมบูรณ
                                   อาสา มีถนนทางลําเลียง  ตกต่ํา ขาดเงินทุน   ผลิต และพัฒนา  ต่ําดินไมอุมน้ํา และ
                                   มีแหลงชุมชน ชุมชน  ไมมีแหลงน้ํา     โครงสรางพื้นฐาน   เสื่อมโทรม เกษตรกร

                                   เขมแข็ง            ดินมีปญหา เชน ดิน  เชน ถนน ทางลําเลียง  ยากจน เชาที่ทํากิน
                                                       ดาน ดินทราย ดินเค็ม   แหลงน้ํา ระบบ
                                                       ดินแนนแข็ง ฯลฯ ดิน  ชลประทาน ฯ
                                                       มีการระบายน้ําดี เก็บ

                                                       น้ําไมอยู

                    พื้นที่ปลายน้ํา   เกษตรกรถือครองที่ดิน   ปลูกขาวเปนหลัก  มี  มีหนวยงานอื่น มี  น้ําทวมขัง เวลาฝนตก
                     (พื้นที่ที่ลุม)   ชุมชน มีความเขมแข็ง     ขอจํากัดพัฒนาการทํา ศูนยฯ เรียนรู มี  ขาดแหลงน้ําเก็บกัก
                                   มีการศึกษา มีหมอดิน  เกษตรแบบผสมผสาน   โรงเรียน วัด ฯลฯ   น้ํา มีตะกอนดินทับ

                                   อาสา มีน้ํามากพอ    เผาฟางขาว  มีปญหา  รัฐสนับสนุนปจจัย  ถม  แหลงน้ําตื้นเขิน
                                   มีแหลงทองเที่ยวเชิง  ดินเปรี้ยว ฯลฯ   การผลิตและพัฒนา  น้ําทะเลหนุน และน้ํา
                                   อนุรักษ  เลี้ยงสัตวน้ําได           โครงสรางพื้นฐาน   เสียจากโรงงาน

                                                                          ถนน ระบบ          อุตสาหกรรม
                                                                          ชลประทาน ฯ


                  4.3. แนวคิดการบริหารและจัดการ

                          การจัดการ (Management) หรืออาจจะเรียกวา การบริหาร หรือ การบริหารจัดการ หมายถึง ชุดของ
                  หนาที่ตาง ๆ ที่กําหนดทิศทางในการใชประโยชนจากทรัพยากรทั้งหลายอยางมีประสิทธิภาพและ

                  ประสิทธิผล เพื่อใหบรรลุเปาหมายขององคกร

                           การใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ (Efficient)  หมายถึง การใชทรัพยากรอยางเฉลียวฉลาด และ
                  คุมคา

                           การใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิผล (Effective)  หมายถึงการตัดสินใจอยางถูกตอง และมีการ

                  ปฏิบัติการไดสําเร็จตามแผนที่กําหนดไว ดังนั้น ผลสําเร็จของการจัดการตองมีทั้งประสิทธิภาพและ
                  ประสิทธิผลควบคูกันไป (Griffin, 1997)
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34