Page 28 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 28

23

                   4.2. ขอพิจารณาในการวิเคราะห SWOT มีดังนี้

                              4.2.1. ควรวิเคราะหแยกแยะควรทําอยางลึกซึ้ง อยูบนพื้นฐานของขอมูลเชิงประจักษ เพื่อใหได
                  ปจจัยที่มีความสําคัญจริง ๆ เปนสาเหตุหลัก ๆ ของปญหาที่แทจริง กลาวคือ เปนปจจัยที่มีประโยชนในการ

                  นําไปกําหนดเปนนโยบาย ตลอดจนสามารถนําไปกําหนดกลยุทธ ที่จะทําใหองคการ/ชุมชนบรรลุเปาหมายที่

                  เปนผลลัพธขั้นสุดทาย (Result) ไดจริง

                              4.2.2. การกําหนดปจจัยตาง ๆ ไมควรกําหนดของเขตของความหมายของปจจัยตาง ๆ ไมวาจะ
                  เปน จุดออน (W) หรือ จุดแข็ง (S) หรือ โอกาส (O) หรือ อุปสรรค (T) ใหมีความหมายคาบเกี่ยวกัน จําเปน

                  อยางยิ่งที่จะตองตัดสินใจ และชี้ชัดวาปจจัยที่กําหนดขึ้นมานั้นเปนปจจัยในกลุมใด ทั้งนี้เพราะปจจัยที่อยูตาง

                  กลุมกัน  ก็ตองสมควรที่จะนําไปกําหนดกลยุทธที่ตางกันออกไป การวิเคราะห  และแนวความคิดการบริหาร
                  และจัดการองคกรดังกลาว สามารถนํามาประยุกตใชในการดําเนินงานพัฒนาที่ดิน เพื่อการวางแผนจัดระบบ

                  อนุรักษดินและน้ําในเขตพัฒนาดินไดเปนอยางดี  อนึ่ง  การนํา  SWOT Analysis  มาประยุกตใชในเขต

                  พัฒนาที่ดินในภาพรวมลักษณะตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ําของลุมน้ํา ไดแสดงไวเปนตัวอยางตามตารางที่ 3


                  ตารางที่  3  การประยุกตใช SWOT Analysis วิเคราะหสภาพเขตพัฒนาที่ดินในลักษณะพื้นที่ตนน้ํา  กลางน้ํา
                            และปลายน้ําของลุมน้ํา

                    ลักษณะพื้นที่        จุดแข็ง            จุดออน            โอกาส             อุปสรรค

                   เขตพัฒนาที่ดิน

                     พื้นที่ตนน้ํา   มีสภาพปาหลงเหลือ มี  พื้นที่ปา มีความลาดเท ทําฝายน้ําลนในลําธาร พื้นที่ปาสงวน มีหลาย
                                   แหลงน้ําตนทุน มีแหลง  เกิน 35 % ตัดไมเผา  ได  ทางลําเลียงน้ํา   หนวยงานเกี่ยวของ มี
                                   ทองเที่ยวเชิงอนุรักษฯ    ทําลายปา เกษตรกร  รัฐใหกาสนับสนุน  กฎหมายควบคุมการ

                                                       ขาดการศึกษา ไมมี  ปจจัยการผลิต และ  ใชประโยชน  มีการ
                                                       ความรู ปลูกพืชยังชีพ  พัฒนาพื้นที่ใหสิทธิ  ชะลางพังทลายมาก
                                                       เชิงเดียว เผาเศษซาก  ทํากิน แตมีขอจํากัด  ดินเสื่อมโทรม

                                                       พืช ไมมีสิทธิการถือ  ทางกฎหมาย สรางปา ผลผลิตพืชตกต่ํา
                                                       ครองที่ดิน  สราง  ชุมชน คนอยูกับปา   ตองกันไวเปนเปน

                                                       ระบบอนุรักษไมได                   พื้นที่ปา ตากฎหมาย/
                                                       ไมมีทางลําเลียง                     ตามลักษณะของภูมิ
                                                                                            ประเทศ
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33