Page 27 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 27

22

                                • สถานะสุขภาพ อัตราการปวย/ตายดวยโรคและภัยสุขภาพของประชากร  พฤติกรรมทาง

                  สุขภาพ รวมถึงระบบสุขภาพ

                                • สภาพแวดลอมทางสิ่งแวดลอม เชน การเปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดลอมและ

                  ทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิอากาศ ระบบนิเวศ ผลกระทบจากการเกษตร อุตสาหกรรม เปนตน

                                • โอกาสทางสภาพแวดลอม (O-Opportunities) เปนการวิเคราะหวาปจจัยภายนอกองคกร
                  ปจจัยใดที่สามารถสงผลกระทบประโยชน ทั้งทางตรงและทางออมตอการดําเนินการขององคกรในระดับ

                  มหาภาค และองคกรสามารถฉกฉวยขอดีเหลานี้มาเสริมสรางใหหนวยงานเข็มแข็งขึ้นได

                                • อุปสรรคทางสภาพแวดลอม (T-Threats) เปนการวิเคราะหวาปจจัยภายนอกองคกรปจจัย

                  ใดที่สามารถสงผล  กระทบในระดับมหภาคในทางที่จะกอใหเกิดความเสียหายทั้งทางตรงและทางออม  ซึ่ง
                  องคกรจําตองหลีกเลี่ยง หรือปรับสภาพองคกรใหมี ความแข็งแกรงพรอมที่จะเผชิญแรงกระทบดังกลาวได

                              (3) ระบุสถานการณจากการประเมินสภาพแวดลอมเมื่อไดขอมูลเกี่ยวกับ จุดแข็ง-จุดออน

                  โอกาส-อุปสรรค จากการวิเคราะหปจจัยภายในและปจจัยภายนอกดวยการประเมินสภาพแวดลอมภายใน

                  และสภาพแวดลอมภายนอกแลว ใหนําจุดแข็ง-จุดออนภายในมาเปรียบเทียบกับ โอกาส-อุปสรรค จาก
                  ภายนอกเพื่อดูวาองคกร กําลังเผชิญสถานการณเชนใดและภายใตสถานการณเชนนั้น องคกรควรจะทํา

                  อยางไร โดยทั่วไป ในการวิเคราะห SWOT ดังกลาวนี้ องคกรจะอยูในสถานการณ 4 รูปแบบดังนี้

                                   ก. สถานการณที่ 1  (จุดแข็ง-โอกาส) สถานการณนี้เปนสถานการณที่พึ่งปรารถนาที่สุด
                  เนื่องจากองคกรคอนขางจะมีหลายอยาง ดังนั้น ผูบริหารขององคกรควรกําหนดกลยุทธในเชิงรุก

                  (Aggressive - strategy) เพื่อดึงเอาจุดแข็งที่มีอยูมาเสริมสรางและปรับใชและฉกฉวยโอกาสตางๆ ที่เปดมาหา

                  ประโยชนอยางเต็มที่

                                   ข. สถานการณที่ 2 (จุดออน-ภัยอุปสรรค)  สถานการณนี้เปนสถานการณ ที่เลวรายที่สุด
                  เนื่องจากองคกรกําลังเผชิญอยูกับอุปสรรคจากภายนอกและมีปญหาจุดออนภายในหลายประการ ดังนั้น

                  ทางเลือกที่ดีที่สุด คือ กลยุทธ การตั้งรับหรือปองกันตัว (Defensive  strategy) เพื่อพยายามลดหรือหลบหลีก

                  ภัยอุปสรรค ตางๆที่คาดวาจะเกิดขึ้น ตลอดจนหามาตรการที่จะทําใหองคกรเกิดความสูญเสียที่นอยที่สุด
                                   ค. สถานการณที่ 3  (จุดออน-โอกาส) สถานการณองคกรมีโอกาสเปนขอไดเปรียบดาน

                  การแขงขันอยูหลายประการ แตติดขัดอยูตรงที่มีปญหาอุปสรรคที่เปนจุดออนอยู หลายอยางเชนกัน ดังนั้น

                  ทางออก คือ กลยุทธการพลิกตัว (Turnaround-oriented  strategy) เพื่อจัดหรือแกไขจุดออนภายในตางๆ ให
                  พรอมที่จะฉกฉวยโอกาสตางๆที่เปดให

                                   ง. สถานการณที่ 4  (จุดแข็ง-อุปสรรค) สถานการณนี้เกิดขึ้นจากการที่สภาพแวดลอมไม

                  เอื้ออํานวยตอการดําเนินงาน แตตัวองคกรมีขอไดเปรียบที่เปนจุดแข็งหลายประการ ดังนั้น แทนที่จะรอ
                  จนกระทั่งสภาพแวดลอมเปลี่ยนแปลงไป ก็สามารถที่จะเลือกกลยุทธการแตกตัว หรือ ขยายขอบขายกิจการ

                  (Diversification strategy) เพื่อใชประโยชนจากจุดแข็งที่มีสรางโอกาสในระยะยาวดานอื่นๆแทน
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32