Page 26 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 26

21

                           ขั้นตอนวิธีการดําเนินการทํา  SWOT Analysis :  การวิเคราะห SWOT จะครอบคลุมขอบเขตของ

                  ปจจัยที่กวาง ดวยการระบุจุดแข็ง จุดออน โอกาสและอุปสรรคขององคกรหรือสภาพพื้นที่/ลุมน้ํา/เขตพัฒนา
                  ที่ดิน ทําใหมีขอมูลในการกําหนดทิศทางหรือเปาหมายที่จะถูกสรางขึ้นมาบนจุดแข็งขององคกร และ

                  แสวงหาประโยชนจากโอกาสทางสภาพแวดลอม และสามารถกําหนดกลยุทธที่มุงเอาชนะ พัฒนา แ

                  ปรับปรุง และแกไขอุปสรรคทางสภาพแวดลอมหรือลดจุดออนขององคกรใหมีนอยที่สุดได ภายใตการ
                  วิเคราะห SWOT นั้น จะตองวิเคราะหทั้งสภาพแวดลอมภายในและภายนอก องคกร โดยมีขั้นตอนดังนี้

                             (1) การประเมินสภาพแวดลอมภายในองคกร จะเกี่ยวกับการวิเคราะหและพิจารณาทรัพยากร

                  และความสามารถภายในองคกร ทุกๆ ดาน เพื่อที่จะระบุจุดแข็งและจุดออนขององคกรแหลงที่มาเบื้องตน

                  ของขอมูลเพื่อการประเมินสภาพแวดลอมภายใน คือ ระบบขอมูลเพื่อการบริหารที่ครอบคลุมทุกดาน ทั้งใน
                  ดานโครงสราง ระบบ ระเบียบ วิธีปฏิบัติงาน บรรยากาศในการทํางาน และทรัพยากร (คน เงิน วัสดุ การ

                  จัดการ) คานิยมองคกร รวมถึงการพิจารณาผลการดําเนินงานที่ผานมาขององคกร เพื่อที่จะเขาใจสถานการณ

                  และผลของวิธีการดําเนินการกอนหนานี้ดวย

                                • จุดแข็งขององคกร (S-Strengths) เปนการวิเคราะหปจจัยภายในจากมุมมองของผูที่อยู
                                   ภายในองคกรนั้นเองวาปจจัยใดภายในองคกรที่เปนขอไดเปรียบหรือจุดเดนขององคกร

                                   ที่องคกรควรนํามาใชในการพัฒนาองคกรได  และควรดํารงไวเพื่อการเสริมสรางความ

                                   เข็มแข็งขององคกร

                                • จุดออนขององคกร (W-Weaknesses) เปนการวิเคราะห  ปจจัยภายในจากมุมมองของผูที่

                                   อยูภายในจากมุมมอง ของผูที่อยูภายในองคกรนั้น ๆ เองวาปจจัยภายในองคกรที่เปนจุด
                                   ดอย  ขอเสียเปรียบขององคกรที่ควรปรับปรุงใหดีขึ้นหรือขจัดใหหมดไป  อันจะเปน

                                   ประโยชนตอองคกร

                             (2) การประเมินสภาพแวดลอมภายนอก  โดยพิจารณาโอกาสและอุปสรรคทางการดําเนินงาน
                  ขององคกรที่จะไดรับผลกระทบจากสภาพแวดลอมตางๆ ไดแก

                                • สภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจทั้งในและระหวางประเทศที่เกี่ยวกับการดําเนินงานของ

                  องคกร เชน อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ นโยบาย การเงิน การงบประมาณ

                                •  สภาพแวดลอมทางสังคม เชนโครงสรางประชากร ระดับการศึกษา อัตรารูหนังสือ การ
                  ตั้งถิ่นฐาน การอพยพและการยายถิ่น ลักษณะชุมชน ขนบธรรมเนียมประเพณี คานิยม ความเชื่อและ

                  วัฒนธรรม

                                • สภาพแวดลอมทางการเมือง เชน พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา มติคณะรัฐมนตรี

                                • สภาพแวดลอมทางเทคโนโลยี หมายถึง กรรมวิธีใหมๆและพัฒนาการทางดานเครื่องมือ
                  อุปกรณที่จะชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตและใหบริการ
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31