Page 22 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 22

17

                          ปาเสื่อมโทรม หมายความวาปาที่มีสภาพเปนปาไมราง หรือทุงหญา หรือเปนปาที่ไมมีไมมีคาขึ้นอยู

                  เลย หรือมีไมมีคาลักษณะสมบูรณเหลืออยูเปนสวนนอย และปานั้นยากที่จะฟนคืนดีตามธรรมชาติได
                          หลักเกณฑและเงื่อนไขในการกําหนดสภาพปาเสื่อมโทรมตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 2

                  มิถุนายน 2530 แกไขเพิ่มเติมโดยมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2532 คือ

                          เปนปาไมที่มีไมมีคาที่มีลักษณะสมบูรณเหลืออยูเปนสวนนอย  และปานั้นยากที่จะกลับฟนคืนดีได
                  ตามธรรมชาติ โดยมีไมขนาดความโตวัดโดยรอบลําตนตรงที่สูง 130 เซนติเมตร ตั้งแต 50 – 100 เซนติเมตร

                  ขึ้นไป ขึ้นกระจายอยูทั่วพื้นที่ไมเกินไรละ 8 ตน หรือมีไมขนาดความเกิน 100 เซนติเมตรขึ้นไป ขึ้นกระจาย

                  อยูทั่วพื้นที่ไมเกินไรละ 2 ตน

                          ในกรณีที่ปานั้นอยูในพื้นที่ตนน้ําลําธารชั้นที่ 1A, ชั้นที่ 1B, และชั้นที่ 2 แมจะมีตนไมนอยเพียงใดก็
                  ตาม ก็มิใหกําหนดเปนปาเสื่อมโทรม



                  3.5. การบริหารจัดการลุมน้ําหลักของประเทศไทย

                           คณะกรรมการอุทกวิทยาแหงชาติ ไดแบงพื้นที่ประเทศไทยออกเปนกลุมลุมน้ําทั้งหมด 9  แหง
                  ประกอบดวย ลุมน้ําสําคัญ 25 ลุมน้ํา และแบงออกเปนลุมน้ํายอย 254 ลุมน้ํายอย มีพื้นที่ลุมน้ํารวมทั้งประเทศ

                  ประมาณ 511,361 ตารากิโลเมตร ตารางที่ 2   (ยังไมรวมพื้นที่เกาะตางๆ ยกเวนเกาะภูเก็ต)

                           การบริหารและจัดการตนน้ําลําธาร สําหรับประเทศไทยซึ่งมีชุมชนตั้งถิ่นฐานและอาศัยทํากินอยู
                  จํานวนมาก ดังนั้น วัตถุประสงคในการจัดการพื้นที่ตนน้ําลําธาร ควรจะไดครอบคลุมองคประกอบที่

                  เกี่ยวของ กลาวคือ เพื่อดําเนินการจัดการตนน้ําลําธารของประเทศ ใหสามารถเอื้ออํานวยผลผลิตของน้ําได

                  อยางยั่งยืน โดยใหมีปริมาณน้ําที่พอเพียง มีคุณภาพที่ดี และมีระยะเวลาการไหลที่สม่ําเสมอ ตลอดจน
                  สามารถควบคุมเสถียรภาพของดิน และการใชทรัพยากรอื่นควบคูไปกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ของ

                  ชุมชนที่อาศัยอยูในพื้นที่ตนน้ําลําธาร ใหสามารถยังชีพอยูไดอยางพอเพียงบนพื้นฐานของการอนุรักษดิน

                  และน้ํา และมีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม
                           พื้นที่ทั้งประเทศของประเทศไทย ถือไดวาเปนพื้นที่ลุมน้ําขนาดใหญ มีลุมน้ําหลักทั้งหมด 25  ลุม

                  น้ํา  ซึ่งจําเปนจะตองมีการบริหารและจัดการอยางถูกตอง เปาหมายสําคัญของการจัดการลุมน้ํา คือ การ

                  ผสมผสานหลักการทางวิชาการ และการมีสวนรวมของประชาชน เพื่อดําเนินการที่จะใหพื้นที่ลุมน้ํา มี

                  ทรัพยากรน้ําใชอยางยั่งยืน ซึ่งครอบคลุมทั้งในสวนของปริมาณน้ํา ที่เพียงพอตอการใช มีระยะเวลาการไหล
                  ของน้ําที่เหมาะสมสม่ําเสมอ คุณภาพของน้ําที่ดีเหมาะสมตอการอุปโภค/บริโภค การควบคุมการพังทลาย

                  ของดิน การลดความเสียหายจากอุทกภัย รวมถึงการใชทรัพยากรในลุมน้ําอยางถูกตองตามหลักการอนุรักษ

                  อันไดแก การใช การเก็บกัก การซอมแซม การฟนฟู การพัฒนา การปองกัน การสงวน และการแบงเขตลุม

                  น้ํา
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27