Page 18 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 18

13

                          การจัดการตนน้ําลําธาร หมายถึง การจัดการพื้นที่ลุมน้ํายอยซึ่งอยูตอนบนของลุมน้ําเปาหมาย

                          ชั้นคุณภาพลุมน้ํา หมายถึง การแบงเขตพื้นที่ลุมน้ําตามลักษณะกายภาพและศักยภาพทางอุทกวิทยา
                  และทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อประโยชนในการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอมอยางมีประสิทธิภาพในลุมน้ํา

                  นั้น ๆ


                  3.2. การกําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ํา

                          การกําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ํา เปนการแบงเขตพื้นที่ลุมน้ําโดยมุงเนนที่คุณสมบัติของพื้นที่ตอการชะ
                  ลางพังทลายของดิน และความเปราะบางทางสิ่งแวดลอมเปนหลักปฏิบัติในการกําหนดขอบเขต พื้นที่ใดที่มี

                  ดินและสิ่งแวดลอมเปราะบางงายตอการชะลางพังทลาย จะตองเก็บรักษาไวเปนแหลงตนน้ําลําธาร สวน

                  พื้นที่ใดมีความคงทนตอการชะลางพังทลายของดิน ก็สามารถนําไปใชในกิจกรรมอื่นๆ ที่เหมาะสม

                  ตามลําดับตอไป
                          การกําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ํา ดําเนินการโดยใชความสัมพันธของตัวแปรทางกายภาพตาง ๆ ที่มี

                  อิทธิพลตอการชะลางพังทลายของพื้นที่ เปนตัวแปรที่เกิดการเปลี่ยนแปลงไดยาก และเปนอิสระซึ่งกันและ

                  กัน ซึ่งไดทั้งหมด 5 ตัวแปร คือ ความลาดชัน (SLOPE)  ความสูงของพื้นที่ (ELEV)  ลักษณะแผนดิน
                  (LANDF)  ลักษณะทางธรณีวิทยา (GEOL)  และชนิดดิน (SOIL)  ซึ่งตัวแปรทั้งหมดจะนํามามาสราง

                  ความสัมพันธกับคาชั้นคุณภาพลุมน้ํา (WSC)  ในรูปแบบของสมการสหสัมพันธมาตรฐาน เพื่อการกําหนด

                  ชั้นคุณภาพลุมน้ําของประเทศไทยดังนี้


                         WSC = a + b(SLOPE) + c(ELEV) + d(LANDF) + e(GEOL) + f(SOIL) + FOR + MIN

                               เมื่อ WSC คือ คาชั้นคุณภาพลุมน้ํา
                               SLOPE คือ ความลาดชันเฉลี่ย (คาที่อานไดใน 1 ตารางกิโลเมตร หรือใน 1 กริด)

                               ELEV คือ ความสูง (คาเฉลี่ยความสูงจากระดับน้ําทะเล/10 ใน 1 ตารางกิโลเมตร)

                               LANDF คือ ลักษณะแผนดิน (คาคะแนนของลักษณะแผนดิน ใน 1 ตารางกิโลเมตร)

                               GEOL คือ ลักษณะทางธรณีวิทยา (คาคะแนนทางธรณีวิทยาใน 1 ตารางกิโลเมตร)


                   3.3. การจําแนกชั้นคุณภาพลุมน้ํา

                           กําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ําของประเทศไทย  จําแนกตามมติคณะรัฐมนตรี  ไดจัดแบงชั้นคุณภาพลุม

                  น้ํา ออกเปน 5 ชั้น ตารางที่ 1 และภาพที่ 1โดยมีลักษณะสังเขปดังนี้
                          3.3.1.พื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ําชั้นที่ 1  เปนพื้นที่สูงอยูตอนบนของลุมน้ํา ภูเขาสูงชัน หุบเขา หนาผา

                  ความลาดชันสูง (มากกวา 50 เปอรเซ็นต) มีลักษณะและสมบัติที่อาจมีผลกระทบทางสิ่งแวดลอม จากการ

                  เปลี่ยนแปลง การใชที่ดินไดงายและรุนแรง ควรจะตองสงวนรักษาไวเพื่อเปนพื้นที่ตนน้ําลําธารโดยมีการ
                  แบงออกเปน 2 ระดับชั้นยอย คือ
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23