Page 17 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 17

12

                                            3. การกําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ําของประเทศไทย



                  3.1. นิยาม ความหมาย คําจํากัดความของคําที่เกี่ยวของกับลุมน้ํา

                           คําวา ลุมน้ํา ตรงกับคําภาษาอังกฤษ คือ Watershed หรือ Drainage หรือ Basin หรือ Catchment มี
                  ผูใหความหมายของคําวาลุมน้ํา และคําอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ไวหลายทาน แตพอสรุปใหเขาใจไดงาย ๆ ดังนี้

                           ลุมน้ํา  หมายถึง  หนวยของพื้นที่หนึ่ง  ที่เกี่ยวของกับการจัดการน้ําโดยเฉพาะ  มีขนาดตามความ

                  ตองการของแตละบุคคลและประเภทของการศึกษา
                           ลุมน้ํา คือ หนวยพื้นที่หนึ่งที่ประกอบดวยทรัพยากรกายภาพ ทรัพยากรชีวภาพ ทรัพยากรที่มนุษย

                  สรางขึ้น (คุณคาการใชประโยชนของมนุษย) และทรัพยากรคุณภาพชีวิต (สังคมสิ่งแวดลอม) ระบบลุมน้ํา

                  ประกอบดวยทรัพยากรเหลานี้อยูรวมกันคละกันอยางกลมกลืนจนมีเอกลักษณและพฤติกรรมรวมกัน เปนลุม

                  น้ําที่มีลักษณะและแสดงบทบาทเฉพาะ จึงมักเรียกลุมน้ําเปนทรัพยากรลุมน้ํา หรือระบบทรัพยากร
                          พื้นที่ลุมน้ํา หมายถึง หนวยของพื้นที่ซึ่งลอมรอบดวยสันปนน้ํา (Boundary) เปนพื้นที่รับน้ําฝนของ

                  แมน้ําสายหลักในลุมน้ํานั้น ๆ เมื่อฝนตกลงมาในพื้นที่ลุมน้ําจะไหลออกสูลําธารสายยอย ๆ (Sub-order) แลว

                  รวมกันออกสูลําธารสายใหญ (Order)  และรวมกันออกสูแมน้ําสายหลัก (Mainstream)  จนไหลออกปากน้ํา
                  (Outlet) ในที่สุด

                                  ตนน้ําลําธาร หมายถึง พื้นที่ตอนบนของลุมน้ําซึ่งเปนพื้นที่ที่มีความลาดชันไปจนถึงสันปนน้ํา เชน

                  ลุมน้ําเจาพระยา  ซึ่งมีแมน้ําสายหลักคือ  แมน้ําเจาพระยา  ตนน้ําเจาพระยาก็คือ  พื้นที่ตอนบน  เชน  บริเวณ

                  จังหวัดเชียงใหม ลําปาง แพร นาน เปนตน ซึ่งพื้นที่เหลานี้ ประกอบไปดวยลุมน้ํายอยขนาดเล็ก ซึ่งเปนพื้นที่
                  ตนน้ําลําธารที่รองรับน้ําฝน และปลดปลอยน้ําทาไหลรวมลงสูแมน้ําเจาพระยา

                           ตนน้ําลําธาร ในดานที่ตั้งของพื้นที่ พบวามติคณะรัฐมนตรี เรื่องการกําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ําและ

                  ขอเสนอแนะมาตรการการใชที่ดินในเขตชั้นคุณภาพลุมน้ําตาง ๆ กําหนดใหสงวน รักษา และฟนฟูสภาพ
                  พื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ําชั้นที่ 1 ของทุกลุมน้ําสําคัญไวเปนแหลงตนน้ํา ลําธารของประเทศ และกําหนดให

                  พื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ําชั้นที่ 2 ของทุกลุมน้ําสําคัญเปนแหลงตนน้ํา ลําธารลําดับรองของประเทศ

                           ตนน้ําลําธาร ในดานอํานาจหนาที่ตามกฎหมาย พบวากรมปาไมมีอํานาจหนาที่ที่จะบริหาร จัดการ
                  และอนุรักษพื้นที่ตนน้ําลําธาร เฉพาะในพื้นที่ปาไมตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัติปาไม พุทธศักราช

                  2484 พระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507 พระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ พ.ศ. 2504 และ

                  พระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2535
                          ดังนั้น ตนน้ําลําธาร ในที่นี้จึงหมายถึง พื้นที่ที่กําหนดไวเปนพื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 1 และพื้นที่ลุมน้ําชั้นที่

                  2 ที่อยูในเขตพื้นที่ปาไมตามบทบัญญัติของกฎหมายที่เกี่ยวของ

                          การจัดการลุมน้ํา หมายถึงการจัดการพื้นที่หนึ่งพื้นที่ใดที่มีขอบเขตที่แนชัด โดยมีวัตถุประสงค

                  เพื่อใหไดน้ําที่มีปริมาณเหมาะสม (Quantity) คุณภาพดี (Quality) และมีระยะเวลาการไหล (Timing) ตลอด
                  ทั้งปอยางสม่ําเสมอ รวมทั้งสามารถควบคุมเสถียรภาพของดินและการใชทรัพยากรอื่นๆ ในพื้นที่นั้นดวย
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22