Page 19 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 19

14

                          พื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 1A, ไดแก พื้นที่ตนน้ําลําธารที่ยังมีสภาพปาสมบูรณ ในป พ.ศ. 2525 สําหรับลุมน้ํา

                  ปง วัง ยม นาน ชี มูล และลุมน้ําภาคใต ป พ.ศ. 2528 สําหรับลุมน้ําภาคตะวันออก และป พ.ศ. 2531 สําหรับ
                  ลุมน้ําตะวันตก ภาคกลาง ลุมน้ําปาสัก ลุมน้ําภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ และสวนอื่นๆ

                          พื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 1B, เปนพื้นที่ที่สภาพปาสวนใหญไดถูกทําลาย ดัดแปลง หรือเปลี่ยนแปลงเพื่อการ

                  พัฒนาหรือการใชที่ดินรูปแบบอื่นกอน พ.ศ.2525
                          3.3.2. พื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ําที่ 2  เปนพื้นที่เหมาะสมตอการเปนตนน้ําลําธารรองลงมา มักเปนภูเขา

                  สูง สันเขามน ไหลเขาที่มีแนวลาดเทปานกลาง ความลาดชันอยูระหวาง 30-50 เปอรเซ็นต ลักษะดินดินงาย

                  ตอการชะลางพังทลาย  ความอุดมสมบูรณต่ํา  สามารถนํามาใชประโยชนเพื่อกิจการที่สําคัญเชน  การทําไม

                  และเหมืองแรได แตตองปฏิบัติตามมาตรการควบคุมอยางเขมงวดรัดกุม
                          3.3.3. พื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ําชั้นที่ 3 มักมีลักษณะเปนที่ลาดเขา ตีนเขา ที่ราบขั้นบันไดสลับเนินเขา

                  และพื้นที่ริมรองน้ํา  มีความลาดชันอยูระหวาง 25-35  เปอรเซ็นต  ดินพังทลายงายถึงปานกลาง  สามารถ

                  นํามาใชประโยชนไดทั้งการทําไม  เหมืองแร  ปลูกพืชกสิกรรมประเภทไมยืนตนได  แตตองใชมาตรการ

                  อนุรักษดินและน้ําที่เขมงวด เชน การทําขั้นบันไดดิน เปนตน
                          3.3.4. พื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ําชั้นที่ 4 เปนพื้นที่เชิงเขา เนินเขาเตี้ย ที่ราบขั้นบันได พื้นที่สองฝงลําน้ํา

                  มีความลาดชันอยูระหวาง 6-25 เปอรเซ็นต ดินคอนขางลึก ความอุดมสมบูรณคอนขางสูง และมีสมรรถนะ

                  การชะลางพังทลายต่ํา  สภาพปาถูกบุกรุกแผวถาง  นํามาใชประโยชนในกิจการพืชไร  แตตองมีมาตรการอนุ
                  รักรักษดินและน้ําพอสมควร

                                3.3.5. พื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ําชั้นที่ 5 เปนพื้นที่ราบลุม หรือเนินลาดเอียงเล็กนอย ต่ํากวา 5

                  เปอรเซ็นตดินลึกถึงลึกมาก ความอุดมสมบูรณสูง มีความคงทนตอการชะลางพังทลาย สวนใหญปาถูกแผว
                  ถางนํามาใชประโยชนเพื่อการเกษตรกรรม โดยเฉพาะการทํานา และกิจกรรมอื่น ๆ



                  ตารางที่  1  พื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ําตาง ๆ ของประเทศไทย

                          ชั้นคุณภาพลุมน้ํา                                 พื้นที่
                                                         ตารางกิโลเมตร                     รอยละ

                               1A                          85,463.70                        16.66
                               1B                           7,626.66                         1.48
                                2                          42,768.62                         8.33

                                3                          39,283.77                        7.66
                                4                          81,283.77                        15.80

                                5                          251,483.62                       49.01
                            อางเก็บน้ํา                    5,454.96                         1.06

                               รวม                         531,115.02                      100.00
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24