Page 16 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 16

11

                  ดิน มีวัตถุประสงคเพื่อสาธิตการใชประโยชนที่ดินดวยการวางแผนและออกแบบระบบการพัฒนาที่ดิน ทั้ง

                  ระบบอนุรักษดินและน้ํา และการจัดการดินที่เปนปญหาโดยใหเกษตรกรและหนวยงานอื่นๆในพื้นที่มีสวน
                  รวมดําเนินการ นอกจากนี้ ยังใชเปนพื้นที่ถายทอดเทคโนโลยีดานการพัฒนาที่ดินใหแกเกษตรกรและ

                  ประชาชนทั่วไป ไดเห็นประโยชนของการพัฒนาที่ดินเพื่อเกษตรกรรมอยางมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ซึ่ง

                  ปจจุบันมีอยู 547 เขตพัฒนาที่ดิน

                           พื้นที่ดําเนินการ หมายถึงพื้นที่ที่เปนตัวแทนของปญหาการใชประโยชนที่ดินในเขตพัฒนาที่ดิน
                  เพื่อบูรณาการกิจกรรมตางๆ ที่เกี่ยวของกับการพัฒนาที่ดิน

                           ดินปญหา หมายถึงดินที่มีสมบัติไมเหมาะสมหรือเหมาะสมนอยสําหรับการเพาะปลูกทาง

                  การเกษตร ซึ่งหากนําดินเหลานี้มาใชเพาะปลูกพืชจะไมไดผลผลิตหรือไดผลผลิตต่ํา ดินมีปญหายังรวมถึง

                  ที่ดินที่มีขอจํากัดตอการใชประโยชน ซึ่งเมื่อนําไปใชแลวจะเกิดผลกระทบตอระบบนิเวศดวย
                          หญาแฝก เปนพืชใบเลี้ยงเดี่ยวตระกูลหญา พบในสภาพธรรมชาติมีถิ่นกําเนิดตามพื้นที่ราบลุมน้ํา

                  ทวม ตามแหลงน้ําธรรมชาติ ริมหนองบึงและในปา ทั่วโลกพบประมาณ 12 ชนิด สวนในประเทศไทยพบ 2

                  ชนิด ไดแก หญาแฝกลุมและหญาแฝกดอน เปนพืชที่พบอยูทั่วไปในธรรมชาติ มีลักษณะเดนที่มีระบบราก
                  ยาว หยั่งลึกและแผกระจายเปนลักษณะตาขายลงไปในดินเปนแนวดิ่ง เมื่อนํามาปลูกเปนแถวชิดกันเสมือน

                  เปนกําแพงธรรมชาติที่มีชีวิต ขยายพันธุโดยการแตกหนอ เมล็ดมีเปอรเซ็นตความงอกต่ํา จึงไมสามารถแพร

                  พันธุไดรวดเร็วเหมือนวัชพืช จึงนํามาใชประโยชนดานอนุรักษดินและน้ํา ดวยวิธีการงายไมซับซอน ลงทุน
                  ต่ํา เกษตรกรสามารถปฏิบัติไดดวยตนเอง
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21