Page 189 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 189

184

                           (3)  การวิเคราะหสภาพปญหาของเขตพัฒนาที่ดิน ใหใชวิธีการ SWOT  Analysis  มาชวยเปน

                  เครื่องมือวิเคราะหสภาพปญหาของพื้นที่ ให เรียงลําดับความสําคัญของปญหาในเขตพัฒนาที่ดิน แผนการ
                  พัฒนาและใชประโยชนที่ดิน

                           (4) กําหนดพื้นที่ดําเนินการ ตองเปนพื้นที่ตัวแทนปญหารุนแรง เรงดวน และเปนปญหาสวนใหญ

                  ในเขตพัฒนาที่ดินนั้นๆ  ตองเปนพื้นที่ที่มีผลกระทบตอการผลิตภาคเกษตร และเกี่ยวของกับหนาที่ ภารกิจ
                  และพันธกิจของกรมพัฒนาที่ดิน

                           (5)  การดําเนินงานเขตพัฒนาที่ดิน โดยสถานีพัฒนาที่ดินที่รับผิดชอบ จะดําเนินการพัฒนาพื้นที่

                  ซึ่งมีทั้งการกอสรางระบบอนุรักษดินและน้ํา  การฟนฟู และแกไขปญหาดินเสื่อมโทรม ตองไดมาตรฐาน

                  ครบถวนตามแบบและแผนงานระบบอนุรักษและน้ํา ที่ไดรับจัดสรรงบประมาณในแตละป


                           15.3.2.  จุดตองควบคุม (Control Point)  ในกระบวนการจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําในเขต

                  พัฒนาที่ดินนั้น  มีหลายขั้นตอนที่ตองมีการควบคุมและตรวจสอบเปนพิเศษ  ซึ่งปกติจะมีคณะกรรมการและ

                  หนวยงานที่เกี่ยวของและไดรับการแตงตั้งหรือมอบหมายจากกรมฯ เปนผูดําเนินการ  มีดังนี้
                           (1)  การออกแบบโครงสรางระบบอนุรักษดินและน้ํา ตองถูกตองตามหลักวิชาการ เหมาะสมกับ

                  พื้นที่ และตามความตองการของเกษตรกร ตองระบุชื่อผูออกแบบ ผูตรวจและผูอนุมัติใหใชแบบกอสราง

                           (2) การประเมินราคางานแบบอนุรักษดินและน้ํา ตองเปนไปตามหลักการ ราคากลางและขอตกลง
                  ที่กรมพัฒนาที่ดินไดรับอนุมัติจากสํานักงานงบประมาณ อยางไรก็ตาม การประเมินราคางานแบบอนุรักษ

                  ดินและน้ํา จักตองสอดคลองกับแผนงาน และแผนงบประมาณที่ไดรับในแตละปดวย

                           (3)  การแจกจายปจจัยการพัฒนาที่ดิน  เชน  กลาหญาแฝก  เมล็ดพันธุปุยพืชสด  ผลิตภัณฑสารเรง
                  ตางๆ (พด.) ปูนมารล โดโลไมท เปนตน ตองมีการมีการควบคุมการเบิกจาย และมีการนําไปใชประโยชนใน

                  เขตพัฒนาที่ดินอยางแทจริง

                           (4) การควบคุมการกอสรางระบบอนุรักษดินและน้ํา ตองมีการควบคุมการกอสรางใหถูกตองตาม
                  แบบอยางเครงครัด  เพื่อการใชประโยชนโครงสรางระบบอนุรักษดินและน้ําไดอยางยั่งยืน

                           (5) การอบรมและประชุมใหความรูดานการพัฒนาที่ดินกับหมอดินอาสาและเกษตรกร ในเขต

                  พัฒนาที่ดิน ซึ่งมีสวนรวมในการดําเนินงานจัดทําเขตพัฒนาที่ดินนั้น  ตองมีการควบคุมใหมีการปฏิบัติอยาง

                  สม่ําเสมอ และความรูที่นําไปฝกอบรมนั้น ตองเปนที่ตองการของหมอดิน เกษตรกร เปนเทคโนโลยีหรือ
                  นวัตกรรมใหมๆ ที่กรมพัฒนาที่ดินไดผลิตและตองการเผยแพร

                           (6) การติดตามและประเมินผลการดําเนินงานจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําในเขตพัฒนาที่ดิน ทั้ง

                  ในดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะดานการปองกันการชะลางพังทลายของดิน การสูญเสีย

                  ดิน  ความชื้น และความอุดมสมบูรณของดิน หลังจากดําเนินงานกิจกรรมตางๆ ในเขตพัฒนาที่ดินไปแลว
                  ขั้นตอนนี้ไดกําหนดไวในกระบวนการจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําในเขตพัฒนาที่ดินของกรมฯ แต

                  ขอเท็จจริงแลว ยังไมมีการติดตามวิเคราะหและประเมินผลกระทบจากการดําเนินงานกิจกรรมตางๆ ในเขต
   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194