Page 193 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 193

188

                  สามารถเขาไปดําเนินการปองกันรักษาสภาพพื้นที่ที่มีความเสี่ยงตอการเกิดแผนดินถลมและเกิดการชะลาง

                  พังทลายของดินอยางรุนแรง และเพื่อใหการใชที่ดินเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุด
                  สมควรกําหนดมาตรการทางกฎหมายที่เหมาะสมเกี่ยวกับการสํารวจความอุดมสมบูรณของดินตามธรรมชาติ

                  ความเหมาะสมแกการใชประโยชนที่ดิน และการกําหนดการอนุรักษดินและน้ํา การวิเคราะหตรวจสอบ

                  ตัวอยางดินหรือการปรับปรุงดินหรือที่ดิน ตลอดจนกําหนดมาตรการหามกระทําการใดๆ รวมถึงการทําให
                  ที่ดินเกิดการปนเปอนของสารเคมีหรือวัตถุอื่นใด จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัติฉบับดังกลาว



                  4. การพัฒนาที่ดิน

                           การพัฒนาที่ดิน เปนการบริหาร จัดการและดําเนินการ หรือปฏิบัติตอดินหรือที่ดิน เพื่อเพิ่ม

                  ประสิทธิภาพและคุณภาพของดินหรือที่ดิน หรือเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรใหสูงขึ้น โดยการบูณาการ
                  งานอนุรักษดินและน้ํา รวมถึงการปรับปรุงดินหรือที่ดินที่ขาดความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติหรือขาด

                  ความอุดมสมบูรณเพราะการใชประโยชน เพื่อฟนฟู รักษาสมดุลธรรมชาติ และวางแผนการใชประโยชน

                  ที่ดินที่ดินเพื่อการเกษตรอยางยั่งยืน ดังนั้น จึงสามารถแบงหลักการพัฒนาที่ดินออกไดเปน 2 ประเภท ดังนี้
                           4.1.  การพัฒนาที่ดินที่ยังไมเคยใชประโยชน ใหมาอยูในรูปที่ใชประโยชนในกิจกรรมตาง ๆ เชน

                  ดานเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม และที่อยูอาศัย เปนตน

                           4.2.  การพัฒนาที่ดินที่ใชประโยชนอยูแลว ใหไดรับผลตอบแทนอยางเต็มที่ โดยการอนุรักษดิน
                  และน้ํา รวมถึงการฟนฟู ปรับปรุงบํารุงดินดวยวิธีการตาง ๆ เพื่อการใชประโยชนอยางยั่งยืน

                           อนึ่ง เนื่องจากทรัพยากรดินและน้ําเสื่อมโทรมลงทุกวัน สาเหตุหนึ่งเกิดจากการใชพื้นที่ทํา

                  การเกษตรอยางตอเนื่อง แตขาดการอนุรักษดินและน้ํา  ขาดการพัฒนา ฟนฟู และปรับปรุงบํารุงดิน อีกทั้งมี
                  ปญหาเกี่ยวกับสภาพดินไมวาจะเปนดินเปรี้ยว ดินเค็ม ดินกรด ฯลฯ  หรือแมในพื้นที่ที่มีความลาดเทซึ่งมี

                  ความเสี่ยงตอการชะลางพังทลายของดิน ปญหาดังกลาวลวนแลวแตเปนอุปสรรคในการประกอบอาชีพของ

                  เกษตรกรทั้งสิ้น  สภาพปญหาแตละแหงแตละทองถิ่นมีความแตกตางกันไปตามลักษณะภูมิประเทศ  และ

                  ตามการใชประโยชนที่ดิน  ดังนั้น  เพื่อใหสามารถวางแผน พัฒนา และแกไขปญหาการใชประโยชนที่ดิน มี
                  ความเหมาะสม และมีความยั่งยืน กรมพัฒนาที่ดิน จึงไดดําเนินการจัดทํา “โครงการเขตพัฒนาที่ดิน”



                  5. เขตพัฒนาที่ดิน

                          เขตพัฒนาที่ดิน หมายถึงพื้นที่ที่ไดรับการคัดเลือกใหดําเนินการพัฒนาที่ดิน ดวยการบูรณาการ
                   กิจกรรมที่เกี่ยวของกับการพัฒนาที่ดินตางๆ เชน การสํารวจและจัดทําแผนที่ภูมิประเทศ แผนที่ดิน แผนที่

                   สภาพการใชที่ดิน แผนที่วางแผนการใชที่ดิน จัดทําระบบอนุรักษดินและน้ํา พัฒนาแหลงน้ํา ปรับปรุงบํารุง

                   ดิน มีวัตถุประสงคเพื่อสาธิตการใชประโยชนที่ดิน ดวยการวางแผนและออกแบบระบบการพัฒนาที่ดิน ทั้ง
                   ระบบอนุรักษดินและน้ํา และการจัดการดินที่เปนปญหาโดยใหเกษตรกรและหนวยงานอื่นๆในพื้นที่มีสวน

                   รวมดําเนินการ นอกจากนี้ ยังใชเปนพื้นที่ถายทอดเทคโนโลยีดานการพัฒนาที่ดินใหแกเกษตรกรและ
   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198